โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์

ดัชนี มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์

มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์ (Mozilla Firefox) รู้จักในชื่อ ไฟร์ฟอกซ์ เป็นเว็บเบราว์เซอร์ที่สามารถใช้ได้ในหลายระบบปฏิบัติการ พัฒนาโดยมูลนิธิมอซิลลาและอาสาสมัครอีกหลายร้อยคน ปัจจุบันอยู่ใต้การดำเนินงานของบริษัท มอซิลลา ปัจจุบันไฟร์ฟอกซ์เป็นเว็บเบราว์เซอร์ที่นิยมอันดับ 3 รองจากอินเทอร์เน็ต เอกซ์พลอเรอร์และกูเกิล โครม และเมื่อแบ่งตามรุ่นของแต่ละเบราว์เซอร์ ไฟร์ฟอกซ์ รุ่น 3.5 เป็นเบราว์เซอร์ที่มีคนใช้มากที่สุดในโลก ไฟร์ฟอกซ์มีส่วนแบ่งในตลาดเว็บเบราว์เซอร์ทั่วโลกร้อยละ 24.61 และมีส่วนแบ่งในตลาดเว็บเบราว์เซอร์ในประเทศไทยร้อยละ 15.28 (ข้อมูลเมื่อธันวาคม พ.ศ. 2552) 21 ตุลาคม 2554 ไฟร์ฟอกซ์ใช้เกกโกตัวเรนเดอริงเอนจินโอเพนซอร์ซซึ่งจัดการตามมาตรฐานเว็บสอดคล้องกับทางดับเบิลยูธรีซีกำหนดไว้ และเพิ่มคำสั่งพิเศษเข้าไป คำสั่งไฟร์ฟอกซ์เป็นซอฟต์แวร์ที่เปิดให้โปรแกรมเมอร์ที่เรียกว่า "แอด-ออนส์" ทำงานร่วมกับตัวโปรแกรม โดยปัจจุบันมีมากกว่า 2,000 ตัว โดยตัวที่นิยมมากที่สุดตามลำดับคือ ฟอกซีทูนส์ (ควบคุมโปรแกรมเล่นเพลง) สตัมเบิลอัปออน (ค้นหาเว็บไซต์) แอดบล็อกพลัส (บล็อกโฆษณา) ดาวน์เดมออล! (ดาวน์โหลด) และเว็บเดเวลอปเปอร์ (เครื่องมือสำหรับทำเว็บ) ไฟร์ฟอกซ์ทำงานได้ในหลายระบบปฏิบัติการรวมถึง วินโดวส์ แมคโอเอสเท็น ลินุกซ์ รุ่นปัจจุบันคือรุ่น 12.0 ออกเมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2555 ตัวโค้ดโปรแกรมเขียนขึ้นในภาษา C++ XUL XBL และ จาวาสคริปต์ โดยโค้ดทั้งหมดเปิดให้ใช้ฟรีภายใต้ลิขสิทธิ์ MPL GPL / LGPL และ Mozilla EULA โดยที่ในรุ่นนี้ได้ทำารแก้Bugในรุ่น9.0ที่ทำให้เบราว์เซอร์Crashบนระบบปฏิบัติการหลักทั้งสามตัว ในกรณีที่ติดตั้งTools Barบางตัวลงไป ไฟร์ฟอกซ์ในปัจจุบันรับรองการใช้ 75 ภาษ.

94 ความสัมพันธ์: บล็อกช่องว่างฟรีบีเอสดีฟีดพ.ศ. 2546พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2555พิง (รูปแบบไฟล์)กูเกิลกูเกิล โครมกนูภาษาภาษาซีพลัสพลัสมอซิลลา ธันเดอร์เบิร์ดมูลนิธิมอซิลลายาฮู!ยูอาร์แอลยูนิโคดระบบจัดการฐานข้อมูลระบบปฏิบัติการรายชื่อเว็บเบราว์เซอร์รูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบลินุกซ์วิกิพีเดียวินโดวส์เอกซ์พีสกินสัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนูสัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปแบบผ่อนปรนของกนูสิทธิบัตรอะโดบี แฟลชอะโดบี แฟลช เพลย์เยอร์อาร์เอสเอสอินเทอร์เน็ตมูวีเดตาเบสอินเทอร์เน็ตอาร์ไคฟ์อินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์อีซีเอ็มเอสคริปต์จาวาสคริปต์จีเมลทวิตเตอร์ทวีปยุโรปทีแอลเอสด็อมควิกไทม์คั่นหน้าตัวแบบโอเพนซอร์ซซอฟต์แวร์เสรีซาฟารี (เว็บเบราว์เซอร์)ซูล (ภาษามาร์กอัป)...ประเทศฟินแลนด์แฟลชเก็ตแมทเอ็มแอลแมคโอเอสแคสเคดดิงสไตล์ชีตส์โอเอส/2โซลาริสโปรแกรมเสริมไบออสไมโครซอฟท์ วินโดวส์ไมโครซอฟท์ ซิลเวอร์ไลท์เบลก รอสส์เบิร์กลีย์ซอฟต์แวร์ดิสทริบิวชันเกกโกเมกะไบต์เร็นเดอริงเอนจินเวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียมเว็บบอร์ดเว็บจีแอลเว็บเบราว์เซอร์เสิร์ชเอนจินเอชทีทีพีเอชทีทีพีเอสเอชทีเอ็มแอลเอชทีเอ็มแอล5เอฟทีพีเอพีไอเอกซ์เอชทีเอ็มแอลเอกซ์เอ็มแอลเอสวีจีเจเพ็กเดฟ ไฮแอตต์เดเบียนเครื่องหมายวรรคตอนCSSGIFTIS-620XMLHttpRequest24 ตุลาคม24 เมษายน29 พฤศจิกายน3 เมษายน9 พฤศจิกายน9 กุมภาพันธ์ ขยายดัชนี (44 มากกว่า) »

บล็อก

ล็อก (blog) เป็นคำรวมมาจากคำว่า เว็บล็อก (weblog) เป็นรูปแบบเว็บไซต์ประเภทหนึ่ง ซึ่งถูกเขียนขึ้นในลำดับที่เรียงตามเวลาในการเขียน ซึ่งจะแสดงข้อมูลที่เขียนล่าสุดไว้แรกสุด บล็อกโดยปกติจะประกอบด้วย ข้อความ ภาพ ลิงก์ ซึ่งบางครั้งจะรวมสื่อต่างๆ ไม่ว่า เพลง หรือวิดีโอ ในหลายรูปแบบได้ จุดที่แตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์โดยปกติคือ บล็อกจะเปิดให้ผู้เข้ามาอ่านข้อมูล สามารถแสดงความคิดเห็นต่อท้ายข้อความที่เจ้าของบล็อกเป็นคนเขียน ซึ่งทำให้ผู้เขียนสามารถได้ผลตอบกลับโดยทันที คำว่า "บล็อก" ยังใช้เป็นคำกริยาได้ซึ่งหมายถึง การเขียนบล็อก และนอกจากนี้ผู้ที่เขียนบล็อกเป็นอาชีพก็จะถูกเรียกว่า "บล็อกเกอร์" บล็อกเป็นเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาหลากหลายขึ้นอยู่กับเจ้าของบล็อก โดยสามารถใช้เป็นเครื่องมือสื่อสาร การประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ผลงาน ในหลายด้านไม่ว่า อาหาร การเมือง เทคโนโลยี หรือข่าวปัจจุบัน นอกจากนี้บล็อกที่ถูกเขียนเฉพาะเรื่องส่วนตัวหรือจะเรียกว่าไดอารีออนไลน์ ซึ่งไดอารีออนไลน์นี่เองเป็นจุดเริ่มต้นของการใช้บล็อกในปัจจุบัน นอกจากนี้ตามบริษัทเอกชนหลายแห่งได้มีการจัดทำบล็อกของทางบริษัทขึ้น เพื่อเสนอแนวความเห็นใหม่ใหักับลูกค้า โดยมีการเขียนบล็อกออกมาในลักษณะเดียวกับข่าวสั้น และได้รับการตอบรับจากทางลูกค้าที่แสดงความเห็นตอบกลับเข้าไป เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ เว็บค้นหาบล็อกเทคโนราที ได้อ้างไว้ว่าปัจจุบันในอินเทอร์เน็ต มีบล็อกมากกว่า 112 ล้านบล็อกทั่วโลก.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และบล็อก · ดูเพิ่มเติม »

ช่องว่าง

องว่าง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และช่องว่าง · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีบีเอสดี

ฟรีบีเอสดี (FreeBSD) คือซอฟต์แวร์เสรีซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการที่เหมือนยูนิกซ์ (Unix-like) สืบทอดมาจาก AT&T UNIX ผ่านทางสายของ Berkeley Software Distribution (BSD) คือ 386BSD และ 4.4BSD ฟรีบีเอสดีรองรับการทำงานบนซีพียูตระกูลหลักๆ หลายตระกูลด้วยกัน นอกจากตระกูล X86 ของอินเทลที่ใช้กันอย่างกว้างขวาง ก็ยังมี DEC Alpha, UltraSPARC ของ Sun Microsystems, Itanium (IA-64), AMD64 และ PowerPC ส่วนของตระกูลรองได้แก่คอมพิวแตอร์สถาปัตยกรรมแบบ PC-98 การรองรับสำหรับตระกูล ARM และ MIPS กำลังอยู่ระหว่างการพัฒนา จุดเด่นที่สำคัญของฟรีบีเอสดีคือประสิทธิภาพและเสถียรภาพ โลโก้ดั้งเดิมและตัวมาสคอตของโครงการฟรีบีเอสดีคือตัวดีม่อนสีแดงซึ่ง มาร์แชล เคิร์ก แมคคูสิก (Marshall Kirk McKusick) เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ การพัฒนาฟรีบีเอสดีเป็นแบบเบ็ดเสร็จทั้งระบบปฏิบัติการ กล่าวคือทั้งเคอร์เนล ยูเซอร์แลนด์ยูทิลิตี้เช่น เชลล์ และดีไวซ์ไดรเวอร์อยู่ในทรีของระบบควบคุมเวอร์ชันของซอร์สโค้ด (CVS) เดียวกัน ซึ่งแตกต่างจากลินุกซ์ที่มีการพัฒนาเฉพาะส่วนของเคอร์เนลโดยบุคคลกลุ่มหนึ่ง ส่วนของยูเซอร์แลนด์ยูทิลิตี้พัฒนาโดยกลุ่มอื่นๆ เช่น กลุ่มในโครงการของกนูและนำมารวมเข้าด้วยกันกับโปรแกรมประยุกต์กลายเป็นดิสทริบิวท์ชั่นซึ่งนำมาเผยแพร่ให้ผู้ใช้ได้ใช้กัน ฟรีบีเอสดีได้รับการยกย่องว่าเป็นระบบปฏิบัติการที่มีชื่อเสียงทางด้านเสถียรภาพและความอึด (แต่ไม่อืด) จึงเป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้รันเซิร์ฟเวอร์อย่างแพร่หลาย ข้อยืนยันนี้ดูได้จากรายงานอัพไทม์ (เวลาจากการรีบูตครั้งล่าสุด) ในรายการ 50 อันดับของเว็บเซิร์ฟเวอร์ที่มีอัพไทม์นานที่สุดก็มฟรีบีเอสดีและBSD/OS ปรากฏอยู่เป็นจำนวนมาก สิ่งนี้เป็นตัวบ่งบอกถึงความมั่นคงของฟรีบีเอสดีว่า ตลอดเวลาการปฏิบัติงานอันยาวนานนี้นอกจากจะไม่มีการแครชแล้ว ยังไม่จำเป็นต้องมีการอัปเดตเคอร์เนลแต่อย่างใด (หลังจากอัพเกรดเคอร์เนลจำเป็นต้องรีบูต).

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และฟรีบีเอสดี · ดูเพิ่มเติม »

ฟีด

อคอนมาตรฐานของฟีด ฟีด (feed) ในทางโทรคมนาคม หมายถึงการส่งสัญญาณ ไปยังส่วนรับสัญญาณ เสาอากาศ หรือเครื่องมือต่างๆ ที่สามารถแปลงค่าสัญญาณไปใช้งานได้ ในบางครั้ง ฟีดใช้แทนเครื่องส่งสัญญาณ หรือเครื่องรับสัญญาณ ในทางอินเทอร์เน็ต ฟีดหมายถึง ข้อมูลที่มีการส่งผ่านมาจากเว็บไซต์ที่ให้บริการข่าว บล็อก หรือข้อมูลต่างๆ มาในลักษณะข้อมูลสั้นๆ ในรูปแบบ RSS หรือ Atom.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และฟีด · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พิง (รูปแบบไฟล์)

PNG ของโลโก้วิกิพีเดีย ภาพกราฟิกส์เครือข่ายใช้ได้หลายระบบ หรือ พิง (Portable Network Graphics: PNG) เป็นรูปแบบแฟ้มภาพที่พัฒนาขึ้นมาทดแทนรูปแบบแฟ้มแบบ GIF เพื่อแก้ปัญหาด้านสิทธิบัตร PNG ออกเสียงว่า ปิง แต่ไม่สะกดว่า ping เนื่องจากซ้ำกับโปรแกรมทางเครือข่ายที่ชื่อเดียวกัน ปัจจุบันมาตรฐานของ PNG คือรุ่น 1.2 โดยได้รับการอนุมัติเป็นมาตรฐานของทั้ง W3C และ ISO/IEC เรียบร้อยแล้ว ไลบรารีสำหรับ PNG คือ libpng ซึ่งเขียนด้วยภาษาซี ปัจจุบัน PNG สนับสนุนโดยเว็บเบราว์เซอร์เกือบทุกตัว แต่มีปัญหาด้านการแสดงผลใน อินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ เวอร์ชัน 6 ซึ่งไม่สนับสนุนคุณสมบัติ alpha-channel.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และพิง (รูปแบบไฟล์) · ดูเพิ่มเติม »

กูเกิล

กูเกิล (Google Inc.) (และ) เป็นบริษัทมหาชนอเมริกัน มีรายได้หลักจากการโฆษณาออนไลน์ที่ปรากฏในเสิร์ชเอนจินของกูเกิล อีเมล แผนที่ออนไลน์ ซอฟต์แวร์จัดการด้านสำนักงาน เครือข่ายออนไลน์ และวิดีโอออนไลน์ รวมถึงการขายอุปกรณ์ช่วยในการค้นหา กูเกิลสำนักงานใหญ่ที่รู้จักในชื่อกูเกิลเพล็กซ์ตั้งอยู่ที่เมืองเมาน์เทนวิว รัฐแคลิฟอร์เนีย โดยมีพนักงาน 16,805 คน (31 ธันวาคม 2550) โดยกูเกิลเป็นบริษัทอเมริกันที่ใหญ่ที่สุดที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของดัชนีดาวโจนส์ (ข้อมูล 31 ตุลาคม พ.ศ. 2550) กูเกิลก่อตั้งโดย แลร์รี เพจ และ เซอร์เกย์ บริน ขณะที่ทั้งคู่กำลังศึกษาอยู่ที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด ซึ่งภายหลังทั้งคู่ได้ก่อตั้งบริษัทเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2541 ในโรงจอดรถของเพื่อนที่ เมืองเมนโลพาร์ก ในรัฐแคลิฟอร์เนีย และมีการเสนอขายหุ้นใหม่แก่ประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก เมื่อ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2547 เพิ่มมูลค่าของบริษัท 1.67 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และหลังจากนั้นทางกูเกิลได้มีการขยายตัวตลอดเวลาจากการพัฒนาซอฟต์แวร์ใหม่และการซื้อกิจการอื่นรวมเข้ามา เช่น กูเกิล ดีปไมด์ รวมถึงก่อตั้งบริษัทลูกอย่างกูเกิล เอกซ์กูเกิลได้ถูกจัดอันดับให้เป็นบริษัทที่น่าทำงานมากที่สุดในสหรัฐอเมริกาโดยนิตยสารฟอร์จูน"." นิตยสารฟอร์จูน 22 มกราคม พ.ศ. 2550 เรียกข้อมูลวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2551 ซึ่งมีคติพจน์ประจำบริษัทคือ Don't be evil อย่างไรก็ตามทางบริษัทได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ในด้านการละเมิดข้อมูลส่วนตัว การละเมิดลิขสิทธิ์ และการเซ็นเซอร์ในหลายส่วน วันที่ 10 สิงหาคม..

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และกูเกิล · ดูเพิ่มเติม »

กูเกิล โครม

กูเกิล โครม (Google Chrome) เป็นซอฟต์แวร์เว็บเบราว์เซอร์ พัฒนาโดยกูเกิล เปิดตัวครั้งแรกในปี 2008 โดยยังรองรับระบบปฏิบัติการ ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ ก่อนจะออกโปรแกรมให้กับ ลินุกซ์, แมคโอเอส, ไอโอเอส และ แอนดรอยด์ ในภายหลัง กูเกิล โครม ยังเป็นองค์ประกอบหลักของ โครม โอเอส ซึ่งจะทำหน้าที่เป็นหน้าจอหลักสำหรับการเรียกใช้เว็บแอป กูเกิล โครม เป็นตัวพัฒนาจากโค้ดของโครงการโอเพนซอร์ซซอฟต์แวร์ โครเมียม ซึ่งใช้สัญลักษณ์เดียวกัน แต่คนละสี โดยจะมีองค์ประกอบหรือคุณสมบัติบางอย่างที่ถูกเพิ่มเข้าไปเช่นการฝัง อะโดบี แฟลชเพลเยอร์ ลงไปในโครม (ซึ่งปัจจุบันนั้นกูเกิล โครมได้ปิดกั้นองค์ประกอบนี้แล้ว) ปัจจุบัน กูเกิล โครมพัฒนาโดยใช้ Blink เป็นเรนเดอริงเอนจินหลักสำหรับวาดหน้าจอ ยกเว้นเพียง ไอโอเอสที่ยังใช้เว็บคิตเป็นเรนเดอริงเอนจินหลัก โลโก้เดิมของกูเกิล โครม โลโก้ปัจจุบันของกูเกิล โครม.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และกูเกิล โครม · ดูเพิ่มเติม »

กนู

ำหรับ กนู ที่เป็นสัตว์ป่าแอฟริกา ดูที่: เครื่องหมายการค้าของกนู โครงการ กนู (GNU) เป็นชื่อของโครงการพัฒนาระบบปฏิบัติการ ริเริ่มโดยริชาร์ด สตอลแมน เมื่อปี พ.ศ. 2527 โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะพัฒนาระบบปฏิบัติการเพื่อให้เป็นซอฟต์แวร์เสรี ที่ทุกคนสามารถนำไปใช้ แก้ไข ปรับปรุง หรือจำหน่ายฟรี โดยไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ โครงการกนู ประกอบไปด้วย เคอร์เนล ไลบรารี คอมไพเลอร์ โปรแกรมระบบ และ โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ คำว่า กนู (IPA: /ɡəˈnuː/ เกอะนู หรือ /ˈnjuː/ นยู ในบางประเทศ) เป็นคำย่อแบบกล่าวซ้ำ มาจากคำเต็มว่า GNU's Not Unix (กนูไม่ใช่ยูนิกซ์) เพราะระบบกนูพัฒนาให้เหมือนระบบยูนิกซ์แต่ไม่ได้ใช้ซอร์สโคดของยูนิกซ์เล..

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และกนู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษา

ษาในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง การพูดอะไรก็ได้ที่เป็นภาษาเช่น สวัสดี คน สวย ให้ พี่ ไป ส่ง ป่าว เป็นราก...

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซีพลัสพลัส

ษาซีพลัสพลัส (C++) เป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ มีโครงสร้างภาษาที่มีการจัดชนิดข้อมูลแบบสแตติก (statically typed) และสนับสนุนรูปแบบการเขียนโปรแกรมที่หลากหลาย (multi-paradigm language) ได้แก่ การโปรแกรมเชิงกระบวนคำสั่ง, การนิยามข้อมูล, การโปรแกรมเชิงวัตถุ, และการโปรแกรมแบบเจเนริก (generic programming) ภาษาซีพลัสพลัสเป็นภาษาโปรแกรมเชิงพาณิชย์ที่นิยมมากภาษาหนึ่งนับตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 1990 เบียเนอ สเดราสดร็อบ (Bjarne Stroustrup) จากเบลล์แล็บส์ (Bell Labs) เป็นผู้พัฒนาภาษาซีพลัสพลัส (เดิมใช้ชื่อ "C with classes") ในปี ค.ศ. 1983 เพื่อพัฒนาภาษาซีดั้งเดิม สิ่งที่พัฒนาขึ้นเพิ่มเติมนั้นเริ่มจากการเพิ่มเติมการสร้างคลาสจากนั้นก็เพิ่มคุณสมบัติต่างๆ ตามมา ได้แก่ เวอร์ชวลฟังก์ชัน การโอเวอร์โหลดโอเปอเรเตอร์ การสืบทอดหลายสาย เทมเพลต และการจัดการเอกเซพชัน มาตรฐานของภาษาซีพลัสพลัสได้รับการรับรองในปี ค.ศ. 1998 เป็นมาตรฐาน ISO/IEC 14882:1998 เวอร์ชันล่าสุดคือเวอร์ชันในปี ค.ศ. 2014 ซึ่งเป็นมาตรฐาน ISO/IEC 14882:2014 (รู้จักกันในชื่อ C++14).

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และภาษาซีพลัสพลัส · ดูเพิ่มเติม »

มอซิลลา ธันเดอร์เบิร์ด

มอซิลลา ธันเดอร์เบิร์ด สามารถทำงานได้หลายระบบ ซึ่งรองรับในระบบประฏิบัติการดังนี้.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และมอซิลลา ธันเดอร์เบิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิมอซิลลา

มูลนิธิมอซิลลา (Mozilla Foundation) เป็นองค์กรไม่แสวงกำไรที่สนับสนุนและเป็นแกนนำของโครงการมอซิลลา โดยทำการออกแบบและควบคุมระบบของซอฟต์แวร์มอซิลลา สำนักงานตั้งอยู่ที่ เมาน์เทนวิว รัฐแคลิฟอร์เนีย มูลนิธิมอซิลลาเป็นที่รู้จักกันดีจากโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ชื่อว่า ไฟร์ฟอกซ์ (ซึ่งปัจจุบันบริหารโดยบริษัทมอซิลลา).

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และมูลนิธิมอซิลลา · ดูเพิ่มเติม »

ยาฮู!

ู! (Yahoo! Inc.) คือบริษัทผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตสัญชาติอเมริกันซึ่งประกอบไปด้วยเว็บท่า, เสิร์ชเอนจิน, Yahoo! Directory, Yahoo! Mail, Yahoo! News, Yahoo! Photos (ซึ่งในวันที่ 20 กันยายน ปี 2550 ได้โอนไปรวมเข้ากับ Flickr), ฯลฯ ยาฮู! ก่อตั้งขึ้นโดยนักศึกษาปริญญาเอกสองคนจากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด เจอร์รี่ หยาง (Jerry Yang) และ เดวิด ฟิโล (David Filo) ในเดือนมกราคมปี 1994 และเริ่มดำเนินกิจการในรูปแบบบริษัทครั้งแรกในวันที่ 2 มีนาคม ปี 1995 ปัจจุบัน ยาฮู! มีบริษัทมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองซันนีเวล รัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา อ้างอิงสถิติการเยี่ยมชมเว็บไซต์ (รวมถึงอเล็กซ่า และเน็ตคราฟต์) ยาฮู! ยังคงเป็นเว็บไซต์ที่มีผู้ชมมากที่สุดในโลกอินเทอร์เน็ต ด้วยจำนวนผู้ใช้ 412 ล้านคน เครือข่ายของยาฮู! ทั่วโลกมีเพจวิวโดยเฉลี่ยกว่า 3.4 พันล้านหน้าต่อวัน (อัปเดตเมื่อเดือนตุลาคม 2005) ปัจจุบันยาฮู! เปิดให้บริการในประเทศไทยด้วยและเริ่มเปิดตัวในประเทศไทยด้วย หรือ Yahoo! Answers ในภาคภาษาไท.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และยาฮู! · ดูเพิ่มเติม »

ยูอาร์แอล

ตัวชี้แหล่งในอินเทอร์เน็ต หรือ โปรแกรมชี้แหล่งทรัพยากรสากล (Uniform Resource Locator, Universal Resource Locator) เรียกโดยย่อว่า ยูอาร์แอล (URL) คือตัวระบุแหล่งทรัพยากรสากล (URI) ประเภทหนึ่ง ซึ่งใช้สำหรับระบุแหล่งที่อยู่ของทรัพยากรที่ต้องการ และมีกลไกบางอย่างสำหรับดึงข้อมูลทรัพยากรนั้นมา ในการใช้ในเอกสารทางเทคนิคและการอภิปรายทั่วไป มักจะใช้ยูอาร์แอลแทนความหมายที่คล้ายกับยูอาร์ไอ Tim Berners-Lee, Roy T. Fielding, Larry Masinter.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และยูอาร์แอล · ดูเพิ่มเติม »

ยูนิโคด

The Unicode Standard, Version 5.0 อักขระยูนิโคดทั้งหมดเมื่อพิมพ์ลงกระดาษ (รวมทั้งสองแผ่น) ยูนิโคด (Unicode) คือมาตรฐานอุตสาหกรรมที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์แสดงผลและจัดการข้อความธรรมดาที่ใช้ในระบบการเขียนของภาษาส่วนใหญ่ในโลกได้อย่างสอดคล้องกัน ยูนิโคดประกอบด้วยรายการอักขระที่แสดงผลได้มากกว่า 100,000 ตัว พัฒนาต่อยอดมาจากมาตรฐานชุดอักขระสากล (Universal Character Set: UCS) และมีการตีพิมพ์ลงในหนังสือ The Unicode Standard เป็นแผนผังรหัสเพื่อใช้เป็นรายการอ้างอิง นอกจากนั้นยังมีการอธิบายวิธีการที่ใช้เข้ารหัสและการนำเสนอมาตรฐานของการเข้ารหัสอักขระอีกจำนวนหนึ่ง การเรียงลำดับอักษร กฎเกณฑ์ของการรวมและการแยกอักขระ รวมไปถึงลำดับการแสดงผลของอักขระสองทิศทาง (เช่นอักษรอาหรับหรืออักษรฮีบรูที่เขียนจากขวาไปซ้าย) ยูนิโคดคอนซอร์เทียม (Unicode Consortium) ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร เป็นผู้รับผิดชอบในการพัฒนายูนิโคด องค์กรนี้มีจุดมุ่งหมายเกี่ยวกับการแทนที่การเข้ารหัสอักขระที่มีอยู่ด้วยยูนิโคดและมาตรฐานรูปแบบการแปลงยูนิโคด (Unicode Transformation Format: UTF) แต่ก็เป็นที่ยุ่งยากเนื่องจากแผนการที่มีอยู่ถูกจำกัดไว้ด้วยขนาดและขอบเขต ซึ่งอาจไม่รองรับกับสภาพแวดล้อมหลายภาษาในคอมพิวเตอร์ ความสำเร็จของยูนิโคดคือการรวมรหัสอักขระหลายชนิดให้เป็นหนึ่งเดียว นำไปสู่การใช้งานอย่างกว้างขวางและมีอิทธิพลต่อการแปลภาษาของซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ นั่นคือโปรแกรมจะสามารถใช้ได้หลายภาษา มาตรฐานนี้มีการนำไปใช้เป็นเทคโนโลยีหลักหลายอย่าง อาทิ เอกซ์เอ็มแอล ภาษาจาวา ดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก และระบบปฏิบัติการสมัยใหม่ ยูนิโคดสามารถนำไปใช้งานได้ด้วยชุดอักขระแบบต่าง ๆ ชุดอักขระที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือ UTF-8 (ใช้ 1 ไบต์สำหรับอักขระทุกตัวในรหัสแอสกีและมีค่ารหัสเหมือนกับมาตรฐานแอสกี หรือมากกว่านั้นจนถึง 4 ไบต์สำหรับอักขระแบบอื่น) UCS-2 ซึ่งปัจจุบันเลิกใช้แล้ว (ใช้ 2 ไบต์สำหรับอักขระทุกตัว แต่ไม่ครอบคลุมอักขระทั้งหมดในยูนิโคด) และ UTF-16 (เป็นส่วนขยายจาก UCS-2 โดยใช้ 4 ไบต์ สำหรับแทนรหัสอักขระที่ขาดไปของ UCS-2).

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และยูนิโคด · ดูเพิ่มเติม »

ระบบจัดการฐานข้อมูล

ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System) หรือที่เรียกว่า ดีบีเอ็มเอส (DBMS) เป็นกลุ่ม โปรแกรมที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในระบบติดต่อระหว่างผู้ใช้กับฐานข้อมูล เพื่อจัดการและควบคุมความถูกต้อง ความซ้ำซ้อน และความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลต่างๆ ภายในฐานข้อมูล ซึ่งต่างจากระบบแฟ้มข้อมูลที่หน้าที่เหล่านี้จะเป็นหน้าที่ของโปรแกรมเมอร์ ในการติดต่อกับข้อมูลในฐานข้อมูลไม่ว่าจะด้วยการใช้คำสั่งในกลุ่มดีเอ็มแอล (DML) หรือ ดีดีแอล (DDL) หรือจะด้วยโปรแกรมต่างๆ ทุกคำสั่งที่ใช้กระทำกับข้อมูลจะถูกดีบีเอ็มเอสนำมาแปล (คอมไพล์) เป็นการปฏิบัติการ (Operation) ต่างๆ ภายใต้คำสั่งนั้นๆ เพื่อนำไปกระทำกับตัวข้อมูลภายในฐานข้อมูลต่อไป สำหรับส่วนการทำงานตางๆ ภายในดีบีเอ็มเอสที่ทำหน้าที่แปลคำสั่งไปเป็นการปฏิบัติการต่างๆ กับข้อมูลนั้น ประกอบด้วยส่วนการปฏิบัติการดังนี้.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และระบบจัดการฐานข้อมูล · ดูเพิ่มเติม »

ระบบปฏิบัติการ

ระบบปฏิบัติการ (operating system) หรือ โอเอส (OS) เป็นระบบซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่จัดการอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และแหล่งซอฟต์แวร์และบริการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการมีหน้าที่หลัก ๆ คือ การจัดสรรทรัพยากรในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้บริการซอฟต์แวร์ประยุกต์ ในเรื่องการรับส่งและจัดเก็บข้อมูลกับฮาร์ดแวร์ เช่น การส่งข้อมูลภาพไปแสดงผลที่จอภาพ การส่งข้อมูลไปเก็บหรืออ่านจากฮาร์ดดิสก์ การรับส่งข้อมูลในระบบเครือข่าย การส่งสัญญานเสียงไปออกลำโพง หรือจัดสรรพื้นที่ในหน่วยความจำ ตามที่ซอฟต์แวร์ประยุกต์ร้องขอ รวมทั้งทำหน้าที่จัดสรรเวลาการใช้หน่วยประมวลผลกลาง ในกรณีที่อนุญาตให้ซอฟต์แวร์ประยุกต์หลายๆ ตัวทำงานพร้อมๆ กัน ระบบปฏิบัติการ ช่วยให้ตัวซอฟต์แวร์ประยุกต์ ไม่ต้องจัดการเรื่องเหล่านั้นด้วยตนเอง เพียงแค่เรียกใช้บริการจากระบบปฏิบัติการก็พอ ทำให้พัฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้ง่ายขึ้น ระบบปฏิบัติการที่เป็นที่นิยมในคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทุกวันนี้ ได้แก่ ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ แมคโอเอส และลินุกซ์ นอกจากนี้ ยังมีระบบปฏิบัติการตระกูลยูนิกซ์ ซึ่งได้รับความนิยมในเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่ใช้กันในหน่วยงาน ระบบปฏิบัติการตระกูลยูนิกซ์ที่เป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ ยูนิกซ์ตระกูลบีเอสดี เอไอเอกซ์ และโซลาริส และรวมถึงลินุกซ์ซึ่งพัฒนาโดยอาศัยหลักการเดียวกันกับยูนิกซ์ ระบบปฏิบัติการบางตัว ถูกออกแบบมาสำหรับการเรียนการสอนวิชาระบบปฏิบัติการโดยเฉพาะ เช่น มินิกซ์ ซินู หรือ พินโทส ในอุปกรณ์อื่นๆ ที่ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ก็อาจมีระบบปฏิบัติการเช่นกัน เช่น ไอโอเอส แอนดรอยด์ หรือ ซิมเบียน ในโทรศัพท์มือถือ หรือระบบปฏิบัติการ TRON ในเครื่องใช้ไฟฟ้าตามบ้าน.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และระบบปฏิบัติการ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเว็บเบราว์เซอร์

รายชื่อเว็บเบราว์เซอร์เรียงลำดับตามช่วงเวลา รายชื่อเว็บเบราว์เซอร.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และรายชื่อเว็บเบราว์เซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ

รูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ (portable document format (ย่อ: pdf)) คือ รูปแบบแฟ้มลักษณะหนึ่ง ที่พัฒนาโดยบริษัทอะโดบีซิสเต็มส์ สำหรับแสดงเอกสารที่สามารถใช้งานได้ในทุกระบบปฏิบัติการ และยังคงลักษณะเอกสารเหมือนต้นฉบับ เอกสารในรูปแบบนี้สามารถจัดเก็บ ตัวอักษร รูปภาพ รูปลายเส้น ในลักษณะเป็นหน้าหนังสือ ตั้งแต่ หนึ่งหน้า หรือหลายพันหน้าได้ในแฟ้มเดียวกัน รูปแบบเป็นมาตรฐานที่เปิดให้คนอื่นสามารถเขียนโปรแกรมมาทำงานร่วมกันได้ รูปแบบนี้ เหมาะสมสำหรับงานที่ต้องการให้แสดงผลลักษณะเดียวกับต้นฉบับ ซึ่งแตกต่างกับการใช้งานรูปแบบอื่น เช่น HTML เพราะการแสดงผลของ HTML จะขึ้นอยู่กับโปรแกรมเบราว์เซอร์และคอมพิวเตอร์ที่ใช้ และเพราะฉะนั้น จะแสดงผลต่างกัน ถ้าใช้ต่างกัน.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และรูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ · ดูเพิ่มเติม »

ลินุกซ์

ลินุกซ์ (Linux) และรู้จักในชื่อ กะนู/ลินุกซ์ (GNU/Linux) โดยทั่วไปเป็นคำที่ใช้ในความหมายที่หมายถึงระบบปฏิบัติการแบบยูนิกซ์ โดยใช้ลินุกซ์ เคอร์เนล เป็นศูนย์กลางทำงานร่วมกับไลบรารีและเครื่องมืออื่น ลินุกซ์เป็นตัวอย่างหนึ่งในฐานะซอฟต์แวร์เสรี และซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สที่ประสบความสำเร็จและมีชื่อเสียง ทุกคนสามารถดูหรือนำโค้ดของลินุกซ์ไปใช้งาน, แก้ไข, และแจกจ่ายได้อย่างเสรี ลินุกซ์นิยมจำหน่ายหรือแจกฟรีในลักษณะเป็นแพคเกจ โดยผู้จัดทำจะรวมซอฟต์แวร์สำหรับใช้งานในด้านอื่นเป็นชุดเข้าด้วยกัน เริ่มแรกของของลินุกซ์พัฒนาและใช้งานในเฉพาะกลุ่มผู้ที่สนใจ ซึ่งในปัจจุบันลินุกซ์ได้รับความนิยมเนื่องมาจากระบบการทำงานที่เป็นอิสระ ปลอดภัย เชื่อถือได้ และราคาต่ำ จึงได้มีการพัฒนาจากองค์กรต่าง ๆ เช่น ไอบีเอ็ม ฮิวเลตต์-แพคการ์ด และโนเวลล์ ใช้สำหรับในระบบเซิร์ฟเวอร์และพีซี เริ่มแรกลินุกซ์พัฒนาสำหรับใช้กับเครื่อง อินเทล 386 ไมโครโพรเซสเซอร์ หลังจากที่ได้รับความนิยมปัจจุบัน ลินุกซ์ได้พัฒนารับรองการใช้งานของระบบสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ในระบบต่าง ๆ รวมถึงในโทรศัพท์มือถือ และกล้องวิดีโอ ลินุกซ์มีสัญญาอนุญาตแบบ GPL ซึ่งเป็นสัญญาอนุญาตที่กำหนดให้ผู้ที่นำโค้ดไปใช้ต้องใช้สัญญาอนุญาตแบบเดิมต่อคือใช้สัญญาอนุญาต GPL เช่นเดียวกัน ซึ่งลักษณะสัญญาอนุญาตแบบนี้เรียกว่า copyleft.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และลินุกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดีย

วิกิพีเดีย (Wikipedia, หรือ) เป็นสารานุกรมเนื้อหาเสรีหลายภาษาบนเว็บไซต์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิวิกิมีเดีย องค์กรไม่แสวงผลกำไร เนื้อหากว่า 35 ล้านบทความ (เฉพาะวิกิพีเดียภาษาอังกฤษมีเนื้อหากว่า 4.9 ล้านบทความ) เกิดขึ้นจากการร่วมเขียนของอาสาสมัครทั่วโลก ทุกคนที่สามารถเข้าถึงวิกิพีเดียสามารถร่วมแก้ไขได้แทบทุกบทความได้อย่างเสรี โดยมีผู้เขียนประจำราว 100,000 คน จนถึงเดือนเมษายน..

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และวิกิพีเดีย · ดูเพิ่มเติม »

วินโดวส์เอกซ์พี

มโครซอฟท์ วินโดวส์เอกซ์พี (Microsoft Windows XP, ชื่อรหัส: Whistler) เป็นระบบปฏิบัติการที่ไมโครซอฟท์ได้ผลิตออกมาในปี พ.ศ. 2544 โดย XP นั้นคือตัวอักษรที่ย่อมาจาก Experience (เอกซ์พีเรียนซ์) ซึ่งมีความหมายว่า ประสบการณ์ ความรู้ที่มีโดยประสบการณ์ ปัจจุบัน วินโดวส์เอกซ์พีได้สิ้นสุดการสนับสนุนแล้วเมื่อวันที่8 เมษายน พ.ศ. 2557.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และวินโดวส์เอกซ์พี · ดูเพิ่มเติม »

สกิน

สกิน (skin) คือ ลักษณะหน้าโปรแกรม (GUI) ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความต้องการเพื่อใช้กับซอฟต์แวร์หรือเว็บไซต์ เพื่อปรับแต่งความสวยงามของผู้ใช้ ตัวอย่างซอฟต์แวร์ที่มีสกิน เช่น เมสเซนเจอร์ เบราว์เซอร์ โปรแกรมฟังเพลง วินแอมป์ หรือ มีเดียเพลเยอร์ หมวดหมู่:ส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และสกิน · ดูเพิ่มเติม »

สัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู

รื่องหมายการค้าของกนู สัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู หรือ กนูจีพีแอล หรือ จีพีแอล (GNU General Public License, GNU GPL, GPL) เป็นสัญญาอนุญาตสำหรับซอฟต์แวร์เสรี ที่ได้รับความนิยมสูงที่สุดในปัจจุบัน ฉบับแรกสุดเขียนโดย ริชาร์ด สตอลล์แมน เริ่มต้นใช้กับโครงการกนู ในปี พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991).

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และสัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู · ดูเพิ่มเติม »

สัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปแบบผ่อนปรนของกนู

รื่องหมายการค้าของกนิว สัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปแบบผ่อนปรนของกนิว หรือ แอลจีพีแอล (GNU Lesser General Public License, LGPL) เป็นสัญญาอนุญาตของซอฟต์แวร์เสรีรูปแบบหนึ่ง คล้ายคลึงกับสัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนิวหรือจีพีแอล ซึ่งจัดทำโดยมูลนิธิซอฟต์แวร์เสรีเช่นกัน แอลจีพีแอลถูกเขียนขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2534 และดัดแปลงเมื่อ พ.ศ. 2542 โดย ริชาร์ด สตอลล์แมน โดยได้รับคำปรึกษาจาก อีเบน โมเกลน แอลจีพีแอลใช้งานส่วนใหญ่กับไลบรารีมากกว่าตัวซอฟต์แวร์ โดยข้อแตกต่างระหว่างกับจีพีแอลคือ ตัวแอลจีพีแอลสามารถเชื่อมเข้ากับซอฟต์แวร์ทั่วไปได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นแอลจีพีแอลหรือจีพีแอลเหมือนกัน นั่นคือ "การผ่อนปรน" กว่าตามชื่อสัญญาอนุญาตนั่นเอง ซอฟต์แวร์ของมอซิลลาและโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกใช้สัญญาอนุญาตแอลจีพีแอล.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และสัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปแบบผ่อนปรนของกนู · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิบัตร

ทธิบัตร (patent) หมายถึง หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์คิดค้นหรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่มีลักษณะตามที่กำหนดในกฎหมาย กฎกระทรวง และระเบียบว่าด้วยสิทธิบัตร..

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และสิทธิบัตร · ดูเพิ่มเติม »

อะโดบี แฟลช

อะโดบี แฟลช (Adobe Flash) (ในชื่อเดิม ช็อกเวฟแฟลช - Shockwave Flash และ แมโครมีเดียแฟลช - Macromedia Flash) เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการเขียนสื่อมัลติมีเดียที่เอาไว้ใช้สร้างเนื้อหาเกี่ยวกับ Flash ซึ่งตัว Flash Player พัฒนาและเผยแพร่โดย อะโดบีซิสเต็มส์ (เริ่มต้นพัฒนาโดยบริษัท ฟิวเจอร์แวร์ ตอนหลังเปลี่ยนเป็น แมโครมีเดีย ซึ่งภายหลังถูกควบรวมกิจการเข้ากับ อะโดบี) ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ทำให้ เว็บเบราว์เซอร์ สามารถแสดงตัวมันได้ ซึ่งมันมีความสามารถในการรองรับ ภาพแบบเวกเตอร์ และ ภาพแบบแรสเตอร์ และมีภาษาสคริปต์ที่เอาไว้ใช้เขียนโดยเฉพาะเรียกว่า แอ็กชันสคริปต์ (ActionScript) และยังสามารถเล่นเสียงและวิดีโอ แบบสเตริโอได้ แต่ในความหมายจริงๆ แล้ว แฟลช คือโปรแกรมแบบ integrated development environment (IDE) และ Flash Player คือ virtual machine ที่ใช้ในการทำงานงานของไฟล์ แฟลชซึ่งในภาษาพูดเราจะเรียกทั้งสองคำนี้ในความหมายเดียวกัน: "แฟลช" ยังสามารถความความถึงโปรแกรมเครื่องมือต่างๆตัวแสดงไฟล์หรือ ไฟล์โปรแกรม แฟลชเริ่มมีชื่อเสียงประมาณปี ค.ศ. 1996 หลังจากนั้น เทคโนโลยีแฟลชได้กลายมาเป็นที่นิยมในการเสนอ แอนิเมชัน และ อินเตอร์แอกทีฟ ในเว็บเพจ และในโปรแกรมหลายๆ โปรแกรมระบบ และ เครื่องมือต่างๆ ที่มีความสามารถในการแสดง แฟลชได้ และ แฟลชยังเป็นที่นิยมในการใช้สร้าง แคอมพิวเตอร์แอนิเมชันโฆษณาออกแบบส่วนต่างๆ ของเว็บเพจใส่วิดีโอบนเว็บ และอื่นๆ อีกมากมาย ไฟล์ Flashในบางครั้งอาจเรียกว่า "flash movies"โดยทั่วไปกับไฟล์ที่มีนามสกุล.swf แล.flv แฟลชเป็นโปรแกรมที่มีชื่อเสียงมากของทางบริษัทแมโครมีเดีย ซึ่งต่อมาได้ถูกซื้อโดยอะโดบี.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และอะโดบี แฟลช · ดูเพิ่มเติม »

อะโดบี แฟลช เพลย์เยอร์

อะโดบี แฟลช เพลย์เยอร์ เป็นซอฟต์แวร์สำหรับรังสรรค์ และทัศนาสื่อภาพเครื่องไหว ภาพยนตร์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ บนเว็บเบราว์เซอร์ ในเว็บไซต์ทั่วไปจะสามารถเห็นแฟลซเพลย์เยอร์แสดงภาพเคลื่อนไหวหรือภาพยนตร์ต่างๆ แฟลซเพลย์เยอร์เป็นซอร์ฟแวร์มัลติมีเดีย และ โปรแกรมประยุกต์ที่มีกรรมสิทธิ์ ที่แพร่หลายในวงกว้าง เริ่มต้นพัฒนาโดย แมโครมีเดีย แต่ปัจจุบัน พัฒนาและเผยแพร่โดย อะโดบี หลังจากการควบรวมกิจการ แฟลซ์ เพลย์เยอร์ ทำงานโดยการอ่านไฟล์ SWF ที่เขียนขึ้นโดยโปรแกรม อะโดบี แฟลช, อะโดบี แฟล็ก เครื่องมืออื่นๆ ของแมโครมีเดีย หรือ เครื่องมือที่ผู้ร่วมพัฒนาจัดทำขึ้น อะโดบี แฟลช หรือ เรียกย่อว่า แฟลช มักใช้อ้างถึงทั้ง อะโดบี แฟลช ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม และ อะโดบี แฟลช เพลย์เยอร์, ซึ่งเขียนและเผยแพร่โดย อะโดบี, สามารถทำงานกับภาพกราฟิกส์เวกเตอร์ และภาพถ่ายทั่วไป มีภาษาสคริปต์เป็นของตนเองเรียกว่า ActionScript, สามารถเรียกข้อมูลวิดีโอและเสียงแบบสองทิศทาง (Bidirectional Streaming).

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และอะโดบี แฟลช เพลย์เยอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เอสเอส

ัญลักษณ์ที่นิยมสำหรับฟีดและอาร์เอสเอส ไออี 7 thumb อาร์เอสเอส (RSS) คือหนึ่งในประเภทเว็บฟีด ซึ่งมีรูปแบบข้อมูลเอกซ์เอ็มแอล ซึ่งใช้สำหรับในการกระจายข้อมูลที่มีการเพิ่มเติม หรือเปลี่ยนแปลงบ่อยจากเว็บไซต์ (web syndication) และบล็อก ซึ่งอาร์เอสเอสสามารถย่อมาจากหลายรูปแบบด้วยกันคือ.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และอาร์เอสเอส · ดูเพิ่มเติม »

อินเทอร์เน็ตมูวีเดตาเบส

อินเทอร์เน็ตมูวีเดตาเบส (The Internet Movie Database หรือ IMDb) เป็นฐานข้อมูลออนไลน์รวบรวมเกี่ยวกับเรื่องราวของ นักแสดง ผู้กำกับ และบุคคลที่เกี่ยวข้องในวงการภาพยนตร์ IMDb เปิดให้บริการตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และอินเทอร์เน็ตมูวีเดตาเบส · ดูเพิ่มเติม »

อินเทอร์เน็ตอาร์ไคฟ์

Internet Archive (Bibliotheca Alexandrina) อินเทอร์เน็ตอาร์ไคฟ์ (Internet Archive) เป็นองค์กรไม่แสวงหากำไรที่เก็บข้อมูลเว็บไซต์ทั่วไปในลักษณะของห้องสมุดดิจิตัล โดยมีสำนักงานตั้งอยู่ที่ เพรซีดีโอ ในซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา โดยมีศูนย์ข้อมูลอยู่ที่ ซานฟรานซิสโก เรดวูดซิตี และ เมาน์เทนวิว โดยข้อมูลที่เก็บไว้ได้แก่ภาพหน้าจอของเว็บไซต์ในแต่ละช่วงเวลา และข้อมูลของเว็บไซต์นั้น.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และอินเทอร์เน็ตอาร์ไคฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

อินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์

วินโดวส์ อินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ (Windows Internet Explorer) (ก่อนนี้เรียกว่า ไมโครซอฟท์ อินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์) โดยมีชื่อย่อว่า ไออี (IE) เป็นเว็บเบราว์เซอร์ของไมโครซอฟท์และเป็นซอฟต์แวร์ที่มีให้พร้อมกับระบบปฏิบัติการวินโดวส์ ไออีเป็นเว็บเบราว์เซอร์ที่มีนิยมคนนิยมใช้มากเป็นตัวหนึ่ง โดยในปี 2545 มีสัดส่วนการใช้งานในตลาดเว็บเบราว์เซอร์ประมาณ 95% และมีแนวโน้มลดลงเนื่องจากมีคู่แข่งที่เพิ่มมากขึ้นจนถึงประมาณ 46% ในปี..

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และอินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อีซีเอ็มเอสคริปต์

อีซีเอ็มเอสคริปต์ (ECMAScript) เป็นภาษาสคริปต์ ซึ่งกำหนดมาตรฐานโดย Ecma International ด้วยข้อกำหนดทางเทคนิค ECMA-262 ภาษา ECMAScript นิยมใช้แพร่หลายในการทำเว็บ และมักสับสนกับ JavaScript หรือ JScript ซึ่งภาษาทั้งสองสำเนียงล้วนเป็นส่วนหนึ่งของมาตรฐาน ECMAScript.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และอีซีเอ็มเอสคริปต์ · ดูเพิ่มเติม »

จาวาสคริปต์

วาสคริปต์ (JavaScript) เป็นภาษาสคริปต์ ทีมีลักษณะการเขียนแบบโปรโตไทพ (Prototyped-based Programming) ส่วนมากใช้ในหน้าเว็บเพื่อประมวลผลข้อมูลที่ฝั่งของผู้ใช้งาน แต่ก็ยังมีใช้เพื่อเพิ่มเติมความสามารถในการเขียนสคริปต์โดยฝังอยู่ในโปรแกรมอื่น ๆ ซัน ไมโครซิสเต็มส์เป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้า "JavaScript" โดยมันถูกนำไปใช้ภายใต้สัญญาอนุญาตเพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีโดย เน็ตสเคป และมูลนิธิมอซิลล.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และจาวาสคริปต์ · ดูเพิ่มเติม »

จีเมล

ีเมล (Gmail) เป็นบริการอีเมลฟรีของกูเกิลผ่านทางระบบเว็บเมล POP และ IMAP โดยในขณะที่โปรแกรมยังอยู่ในระยะพัฒนา (บีตา) จีเมลเปิดให้ผู้ที่ได้รับคำเชิญทดลองใช้เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2547 และให้บริการแก่บุคคลทั่วไปเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 หลังจากนั้นจึงออกจากระยะพัฒนาพร้อมกับบริการอื่น ๆ ของกูเกิล แอปส์เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ปัจจุบันจีเมลรับรองการใช้งาน 54 ภาษารวมถึงภาษาไทย จีเมลเป็นผู้บุกเบิกการใช้ AJAX ที่ใช้งานจาวาสคริปต์และการใช้งานผ่านทางคีย์บอร์ด ทำให้สะดวกต่อการใช้งาน ปัจจุบัน จีเมลเป็นบริการอีเมล์บนเว็บไซต์ที่มีผู้ใช้มากที่สุดในโลก กล่าวคือมากกว่า 425 ล้านคน.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และจีเมล · ดูเพิ่มเติม »

ทวิตเตอร์

ทวิตเตอร์ (Twitter) เป็นบริการเครือข่ายสังคมออนไลน์จำพวกไมโครบล็อก โดยผู้ใช้สามารถส่งข้อความยาวไม่เกิน 280 ตัวอักษร ว่าตนเองกำลังทำอะไรอยู่ โดยเรียกการส่งข้อความนี้ว่า ทวีต (Tweet) ซึ่งแปลว่า เสียงนกร้อง ทวิตเตอร์ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และทวิตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ทีแอลเอส

วามมั่นคงของชั้นขนส่ง หรือ ทีแอลเอส (Transport Layer Security: TLS) หรือชื่อเดิม ชั้นซ็อกเก็ตปลอดภัย หรือ เอสเอสแอล (Secure Sockets Layer: SSL) เป็นโพรโทคอลที่ใช้เข้ารหัสข้อมูลที่ส่งในอินเทอร์เน็ต เช่น เว็บเพจ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมสนทนา และอื่นๆ เพื่อความปลอดภัยในการส่งข้อมูล มีข้อแตกต่างในรายละเอียดทางเทคนิคระหว่าง SSL 3.0 และ TLS 1.0 เพียงเล็กน้อย ดังนั้นตัวย่อ SSL จะหมายถึงโพรโทคอลทั้งคู่ ในกรณีที่ไม่ระบุว่าตัวใดตัวหนึ่งเป็นพิเศษ.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และทีแอลเอส · ดูเพิ่มเติม »

ด็อม

Document Object Model ด็อม (DOM: Document Object Model แบบจำลองอ็อบเจกต์เอกสาร) เป็นวิธีการอธิบายว่าข้อมูลต่างๆ ในเอกสาร HTML หรือ XML จัดเรียงตัวแบบเชิงวัตถุ (object oriented) อย่างไร ด็อมเป็นวิธีในการสร้าง API ให้สามารถควบคุมเนื้อหา โครงสร้าง และรูปแบบของเอกสารได้ เดิมทีนั้นเว็บเบราว์เซอร์แต่ละค่ายมีการพัฒนาด็อมโดยใช้จาวาสคริปต์ที่แตกต่างกันออกไป ทาง W3C จึงได้ร่างมาตรฐานกลางที่เรียกว่า W3C Document Object Model (W3C DOM) โดยไม่ขึ้นกับภาษาโปรแกรมมิ่งภาษาใดภาษาหนึ่ง การจัดข้อมูลในรูปแบบด็อมนั้นใช้แผนภูมิต้นไม้ในการบอกความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุแต่ละชิ้น อย่างไรก็ตาม ด็อมมีจุดอ่อนในเรื่องประสิทธิภาพเมื่อต้องประมวลผลเอกสารขนาดใหญ่ ซึ่งด็อมจำเป็นต้องอ่านเอกสารให้ครบทั้งหมดก่อน จึงจะเริ่มประมวลผล ข้อเสียนี้จึงเกิดการออกแบบ SAX ที่ใช้วิธีอ่านเอกสารทีละส่วนแทน ตามมาตรฐานของ W3C นั้น ได้แบ่งด็อมเป็นระดับชั้น (level) ที่มีข้อกำหนดแตกต่างกันออกไป ปัจจุบันมี Level 0-3.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และด็อม · ดูเพิ่มเติม »

ควิกไทม์

วิกไทม์ เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาโดยแอปเปิล มีความสามารถในการจัดการรูปแบบต่างๆของ วิดีโอดิจิตอล, ภาพ, เสียง, ภาพพาโนรามา และการติดต่อสื่อสาร รุ่นคลาสสิกของ ควิกไทม์สามารถใช้ได้สำหรับวินโดวส์เอกซ์พี และต่อมาเช่นเดียวกับแมคโอเอสเท็น ลีโอพาร์ด และต่อมาในระบบฏิบัติการ รุ่นล่าสุดคือ ควิกไทม์เอ็กซ์ ปัจจุบันมีให้บริการบนแมคโอเอสเท็น ลีโอพาร์ด,แมคโอเอสเท็น ไลออน และโอเอสเท็น เมาน์เท็นไลออน.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และควิกไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

คั่นหน้า

ั่นหน้า หรือ บุ๊กมาร์ก (bookmark) คือคำสั่งหนึ่งที่ใช้บันทึกการเชื่อมโยงไปที่ยูอาร์แอล (URL) ใดๆ ในเบราว์เซอร์ โดยมีจุดประสงค์เพื่อการจดจำตำแหน่งของหน้านั้นๆ โดยเก็บค่าคั่นหน้าไว้ในเครื่องของผู้ใช้ เปรียบเทียบเหมือนการสอดที่คั่นหนังสือในหน้าที่อ่านค้างไว้ คั่นหน้าเริ่มมีการใช้ตั้งแต่เบราว์เซอร์รุ่นแรก ๆ อย่างโมเสก จนถึงในปัจจุบันมีการพัฒนาซอฟต์แวร์ ต่างๆ ที่ช่วยในการจัดเรียงคั่นหน้า โปรแกรมค้นดูอินเทอร์เน็ต เช่น อินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ คั่นหน้าจะเรียกว่า เฟเวอริต (favorite) ส่วนโมเสกใช้ชื่อว่า ฮอตลิสต์ (hotlist) เป็นต้น ซึ่งในปัจจุบันมีความสามารถใหม่เรียกว่า ไลฟ์บุ๊กมาร์ก (live bookmark คั่นหน้าแบบถ่ายทอดสด) ใน โปรแกรมไฟร์ฟอกซ์ และโปรแกรมค้นดูอินเทอร์เน็ตตัวใหม่ที่วางแผนออกในปี พ.ศ. 2549 จะมีความสามารถในการอ่านอาร์เอสเอส (RSS) ที่เปลี่ยนไปตามการเปลี่ยนแปลงภายในเว็บนั้น เช่น การอ่านหัวเรื่อง หรือการอ่านหัวข้อบล็อก โดยไม่จำเป็นต้องเข้าไปดูในเว็บ ในปัจจุบัน ผู้พัฒนาคั่นหน้าที่แยกต่างหากและได้รับความนิยมมากได้แก่ เว็บไซต์ del.icio.us (อ่านว่า ดิ-ลิ-เชียส) ปรับปรุงระบบการใช้คั่นหน้าโดยเก็บข้อมูลบนเว็บเพื่อสะดวกในการใช้ คั่นหน้าออนไลน์ (online bookmark) และเชื่อมโยงระหว่างคั่นหน้าของผู้ใช้แต่ละบุคคล.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และคั่นหน้า · ดูเพิ่มเติม »

ตัวแบบโอเพนซอร์ซ

ตัวแบบโอเพนซอร์ซ (open-source model) เป็นตัวแบบการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบกระจายอำนาจที่สนับสนุนให้มีการร่วมมือกันอย่างเสรีLevine, Sheen S., & Prietula, M. J. (2013).

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และตัวแบบโอเพนซอร์ซ · ดูเพิ่มเติม »

ซอฟต์แวร์เสรี

ปรแกรมจัดการภาพกิมป์ และวีแอลซีมีเดียเพลเยอร์ ซอฟต์แวร์เสรี (free software) หมายถึงซอฟต์แวร์ที่สามารถนำไปใช้ แก้ไข ดัดแปลง พัฒนา และจำหน่ายแจกจ่ายได้โดยเสรี โดยไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์แต่อย่างใด ตามคำนิยามของมูลนิธิซอฟต์แวร์เสรี (Free Software Foundation) ในบางครั้งซอฟต์แวร์เสรีจะถูกกล่าวถึงในชื่ออื่น ๆ เช่น libre software, FLOSS หรือซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส ซอฟต์แวร์เสรีที่เป็นนิยมใช้งานได้แก่ ลินุกซ์ ไฟร์ฟอกซ์ และโอเพ่นออฟฟิศ ในทางปฏิบัติ ซอฟต์แวร์เสรี และ ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส มีลักษณะร่วมที่คล้ายกัน แต่แตกต่างกันโดยแนวความคิดของกลุ่ม โดยซอฟต์แวร์เสรีเน้นในแนวทางสังคมการเมืองที่ต้องการให้มีการใช้ซอฟต์แวร์ได้อย่างอิสระ ไม่ถูกจำกัดด้วยลิขสิทธิ์ ในขณะที่ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สมีแนวความคิดในการเปิดกว้างให้แลกเปลี่ยนซอร์สโค้ดได้อิสระซึ่งเป็นแนวคิดทางด้านเทคโนโลยี อย่างไรก็ตามซอฟต์แวร์เสรีทุกตัวถูกจัดให้เป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สเสมอ แต่กระนั้นเคยมีกรณีที่มูลนิธิซอฟต์แวร์เสรีไม่ยอมรับ Apple Public Source License รุ่นแรกให้อยู่อยู่ในรายการโดยเนื้อหาใน Apple Public Source License รุ่นแรกกำหนดให้การปรับปรุงแก้ไขที่เป็นส่วนตัวจะต้องเผยแพร่ patch ออกสู่สาธารณะและรายงานให้ Apple ทราบทุกครั้ง ซึ่งทางมูลนิธิซอฟต์แวร์เสรีมองว่าเป็นการไม่เคารพความเป็นส่วนตัวและจำกัดเสรีภาพในการแก้ไขซอฟต์แวร์ นอกจากนี้มีการสับสนระหว่างฟรีแวร์ที่มีลักษณะนำไปใช้ได้ฟรี โดยไม่รวมถึงการนำไปดัดแปลงแก้ไข กับซอฟต์แวร์เสรีที่สามารถนำไปใช้รวมทั้งดัดแปลงแก้ไขได้อย่างสมบูรณ.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และซอฟต์แวร์เสรี · ดูเพิ่มเติม »

ซาฟารี (เว็บเบราว์เซอร์)

ซาฟารี (Safari) คือเว็บเบราว์เซอร์ที่พัฒนาโดยบริษัทแอปเปิล คอมพิวเตอร์ สำหรับเครื่องแมคอินทอช โดยมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการ Mac OS X รุ่น 10.3 เป็นต้นไป และสตีฟ จอบส์ ได้ประกาศในวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2550 เปิดตัวซาฟารีสำหรับวินโดวส์ แต่ปัจจุบัน ซาฟารีสำหรับวินโดวส์ได้ถูกยกเลิกการพัฒนาไปแล้ว หน้าตาของซาฟารีมีลักษณะสีเงินวาว (brush metal) เหมือนกับลักษณะของ ซอฟต์แวร์เล่นเพลง ไอทูนส์ ซาฟารีรุ่นที่สองเรียกว่า Safari RSS ใช้ได้กับ Mac OS X รุ่น 10.4 ขึ้นไป ซาฟารี ใช้ตัววาดหน้าเว็บชื่อ WebCore ซึ่งพัฒนามาจากตัววาดหน้าเว็บชื่อ เว็บคิต ที่พัฒนาต่อมาจาก KHTML ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการซอฟต์แวร์เสรี.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และซาฟารี (เว็บเบราว์เซอร์) · ดูเพิ่มเติม »

ซูล (ภาษามาร์กอัป)

ซูล (XUL: XML User Interface Language ภาษาส่วนต่อประสานกับผู้ใช้เอกซ์เอ็มแอล) เป็นภาษามาร์กอัปสำหรับสร้างส่วนติดต่อผู้ใช้ พัฒนาขึ้นเพื่อใช้พัฒนาโดยมอซิลลา สำหรับการใช้งานใน Mozilla Firefox หรือ Mozilla Thunderbird โดยเป็นรูปแบบหนึ่งของการนำเอกซ์เอ็มแอลมาใช้งาน ถึงแม้ว่าซูลจะไม่ได้เป็นมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการ แต่ก็ใช้เทคโนโลยีที่เป็นมาตรฐานจำนวนมาก เช่น CSS, JavaScript, DTD และ RDF.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และซูล (ภาษามาร์กอัป) · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์

ประเทศฟินแลนด์ (ซูโอมี) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐฟินแลนด์ เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป เขตแดนด้านตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลบอลติก ทางด้านใต้จรดอ่าวฟินแลนด์ ทางตะวันตกจรดอ่าวบอทเนีย ประเทศฟินแลนด์มีชายแดนติดกับประเทศสวีเดน นอร์เวย์ และรัสเซีย สำหรับหมู่เกาะโอลันด์ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้นั้น อยู่ภายใต้การปกครองของฟินแลนด์ แต่เป็นเขตปกครองตนเอง เคยถูกรัสเซียยึดครองและเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย ฟินแลนด์มีประชากรเพียง 5 ล้านคน ในพื้นที่ 338,145 ตารางกิโลเมตร นับว่ามีประชากรที่เบาบาง แต่มีดัชนีการพัฒนามนุษย์ตามสถิติของสหประชาชาติ พ.ศ. 2549 อยู่ในลำดับที่ 11 ฟินแลนด์เคยเป็นส่วนหนึ่งของสวีเดนหลายศตวรรษ หลังจากนั้นก็อยู่ภายใต้จักรวรรดิรัสเซียจนถึงปี พ.ศ. 2460 ปัจจุบันฟินแลนด์เป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตย ภาษาฟินแลนด์เป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฮังการี และภาษามอลตา ตั้งแต่ประมาณ 2,700 ปีก่อนพุทธกาล ดินแดนฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากทางใต้ของอ่าวฟินแลนด์ โดยเข้ามาทางตะวันตกเฉียงใต้ของฟินแลนด์ มีหลักฐานของเครื่องปั้นดินเผาที่มีลักษณะเฉพาะ ต่อมาในยุคสำริด พื้นที่ทางชายฝั่งของฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลจากสแกนดิเนเวียและยุโรปกลาง ในขณะที่พื้นที่ที่อยู่ห่างจากทะเลเข้าไป ได้รับอิทธิพลการใช้สำริดมาจากทางตะวันออกมากกว่า ในพุทธศตวรรษที่ 5 พบว่ามีการค้าขายแลกเปลี่ยนกับสแกนดิเนเวียมากขึ้น และการค้นพบวัตถุแบบโรมันจากยุคนี้ด้วย ปรากฏการกล่าวถึงชาวฟินแลนด์ในเอกสารของชาวโรมันในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และประเทศฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

แฟลชเก็ต

แฟลชเก็ต (FlashGet) (เดิมใช้ชื่อว่า เจ็ตคาร์) เป็นโปรแกรมช่วยดาวน์โหลดแบบฟรีแวร์ สำหรับไมโครซอฟท์ วินโดวส์ เมื่อก่อนจะเป็นซอฟต์แวร์ที่ต้องจ่ายเงินหรือไม่ก็จะมีโฆษณา ตอนหลังใช้สำหรับช่วยดาวน์โหลดของอินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ ทำให้การดาวน์โหลดสามารถหยุดได้ มีความยืดหยุ่น ทำให้ไฟล์ที่ดาวน์โหลดไม่เสียห.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และแฟลชเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

แมทเอ็มแอล

แมทเอ็มแอล (MathML: Mathematical Markup Language ภาษามาร์กอัปเชิงคณิตศาสตร์) เป็นการนำภาษาเอกซ์เอ็มแอล มาดัดแปลงให้ใช้กับการเขียนสูตรคณิตศาสตร์บนเว็บ แมทเอ็มแอลเป็นมาตรฐานของเวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม รุ่นปัจจุบันคือ 2.0 ปัจจุบันเว็บเบราว์เซอร์ที่สนับสนุน MathML คือเว็บเบราว์เซอร์ในตระกูล Mozilla สำหรับ Internet Explorer นั้นต้องติดตั้งโปรแกรมเพิ่มเติมเพื่อแสดงผล ด้านโปรแกรมชุดออฟฟิศนั้น ทั้ง Microsoft Word, OpenOffice.org และ KOffice สนับสนุนเป็นอย่างดี รวมถึงโปรแกรมทางคณิตศาสตร์อย่าง Mathematica และ MathType.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และแมทเอ็มแอล · ดูเพิ่มเติม »

แมคโอเอส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และแมคโอเอส · ดูเพิ่มเติม »

แคสเคดดิงสไตล์ชีตส์

แคสเคดดิงสไตล์ชีตส์ (Cascading Style Sheets: CSS) เป็นภาษาสไตล์ชีตใช้ในการจัดรูปแบบของเอกสารที่เขียนในภาษามาร์กอัป CSS เป็นภาษาที่สำคัญตัวหนึ่งในการเขียนเว็บเพจ ซึ่งเขียนในภาษา HTML และ XHTML แต่ก็ยังสามารถประยุกต์ใช้กับใน XML ซึ่งรวมถึง SVG และ XUL ด้วย มาตรฐาน CSS นั้น สร้างโดยกลุ่ม World Wide Web Consortium (W3C) แคสเคดดิงสไตล์ชีตส์ มักเรียกโดยย่อว่า สไตล์ชีต แต่ความจริงแล้วคำนี้อาจหมายถึงภาษาสไตล์ชีตอื่นก็ได้.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และแคสเคดดิงสไตล์ชีตส์ · ดูเพิ่มเติม »

โอเอส/2

อเอส/2 (OS/2 อ่านว่า โอเอสทู) เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ที่เริ่มแรกพัฒนาโดยไมโครซอฟท์และไอบีเอ็ม แต่ต่อมาทางไอบีเอ็มได้พัฒนาต่อเพียงผู้เดียว ชื่อของโอเอส/2ย่อมาจาก "Operating System/2" การพัฒนาโอเอส/2เริ่มต้นเมื่อสิงหาคม..

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และโอเอส/2 · ดูเพิ่มเติม »

โซลาริส

ซลาริส (Solaris) หรือในชื่อเต็ม The Solaris Operating Environment เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แบบยูนิกซ์ ที่พัฒนาโดย ซัน ไมโครซิสเต็มส์ ระบบปฏิบัติการโซลาริส ใช้ได้กับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์สองแบบ คือ แบบ สปาร์ค และแบบ x86 (แบบเดียวกับในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทั่วไป) รุ่นแรก ๆ ของโซลาริสนั้น ใช้ชื่อว่า ซันโอเอส (SunOS) โดยมีพื้นฐานมาจากยูนิกซ์ตระกูลบีเอสดี แต่ต่อมาในรุ่นที่ 5 ได้เปลี่ยนมาใช้โค้ดของ ซิสเต็มส์ไฟว์ (System V) แทน และเปลี่ยนชื่อมาเป็น โซลาริส ดังเช่นในปัจจุบัน โดยเรียกโซลาริสรุ่นแรกว่า โซลาริส 2 และเปลี่ยนชื่อเรียกของซันโอเอสรุ่นก่อน ๆ เป็น โซลาริส 1.x และหลังจากโซลาริสรุ่น 2.6 ก็ได้ตัด "2." ข้างหน้าออกไป และเรียกเป็น โซลาริส 7 แทน รุ่นปัจจุบันของโซลาริสคือ โซลาริส 11 การพัฒนาบางส่วนของโซลาริสในอนาคต ขณะนี้ได้พัฒนาในโครงการ โอเพนโซลาริส (OpenSolaris) ซึ่งเป็นโครงการระบบปฏิบัติการแบบโอเพนซอร์ซ.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และโซลาริส · ดูเพิ่มเติม »

โปรแกรมเสริม

ปรแกรมเสริม ในความหมายทางคอมพิวเตอร์ หมายถึงโปรแกรมที่เสริมฟังก์ชันการทำงานให้กับโปรแกรมอื่น ให้สามารถใช้งานได้หลากหลายหรือมีประสิทธิภาพมากขึ้น.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และโปรแกรมเสริม · ดูเพิ่มเติม »

ไบออส

รอมพร้อมไบออส ระบบหน่วยรับเข้า/ส่งออกพื้นฐาน หรือ ไบออส (Basic Input/Output System: BIOS) คือโปรแกรมที่ปกติจะเก็บเอาไว้ในรอมที่เป็นความจำถาวร หรือกึ่งถาวร (EPROM Erasable Programmable Read Only Memory) และเป็นโปรแกรมที่ไมโครโพรเซสเซอร์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเรียกใช้เป็นโปรแกรมแรกตั้งแต่เปิดเครื่อง โดยไบออสจะทำหน้าที่ในการตรวจอุปกรณ์ที่ต่อไว้ตามตำแหน่งที่ระบุ และทำการโหลดระบบปฏิบัติการจากฮาร์ดดิสก์หรือดิสก์เก็ต ไปที่แรมซึ่งเป็นหน่วยความจำชั่วคราว หลังจากนั้นจะทำหน้าที่บริหารการไหลของข้อมูล ระหว่างระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผล เช่น จอภาพ แป้นพิมพ์ จอยสติก เครื่องพิมพ์ เป็นต้น หมวดหมู่:บูตโลดเดอร.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และไบออส · ดูเพิ่มเติม »

ไมโครซอฟท์ วินโดวส์

มโครซอฟท์ วินโดวส์ (Microsoft Windows) เป็นระบบปฏิบัติการ ซึ่งพัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท์ เปิดตัวเมื่อปี พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985 โดยรุ่นแรกของวินโดวส์ คือ วินโดวส์ 1.0) และครองความนิยมในตลาดคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล มากกว่า 90% ของการใช้งานทั่วโลก รายละเอียดโดยสังเขปของวินโดวส์รุ่นต่างๆ เรียงตามลำดับการเปิดตัว เป็นดังนี้.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และไมโครซอฟท์ วินโดวส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไมโครซอฟท์ ซิลเวอร์ไลท์

มโครซอฟท์ซิลเวอร์ไลท์ (Microsoft Silverlight) เป็นโปรแกรมเสริมสำหรับโปรแกรมค้นดูเว็บ เบื้องต้นถูกออกเผยแพร่เพื่อให้นักพัฒนาซอฟต์แวร์ใช้สำหรับพัฒนาโปรแกรมเว็บที่อาจมีส่วนประกอบอย่าง แอนิเมชัน ภาพกราฟิกส์เวกเตอร์ การใส่ภาพยนตร์และเสียง เป็นต้น ต่อมาได้ถูกปรับปรุงให้ใช้ได้กับชุดเครื่องมือพัฒนาโปรแกรม ไมโครซอฟท์ วิชวลสตูดิโอ และสนับสนุนบางส่วนของ ดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก เพื่อให้สามารถไปใช้ในการพัฒนาโปรแกรมเว็บที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับโปรแกรมที่ถูกใช้งานบนคอมพิวเตอร์ (Rich Internet application) หรือโปรแกรมทางธุรกิจทั่วไป (Line of business Application) เป็นคู่แข่งของผลิตภัณฑ์อย่าง Adobe Flash, JavaFX และ Apple QuickTime เดิมนั้น Silverlight ถูกพัฒนาใต้รหัส Windows Presentation Foundation/Everywhere (WPF/E) ปัจจุบันออกรุ่น 1.0 เมื่อ 20 พฤศจิกายน 2007 โดยทำงานได้บนไมโครซอฟท์ วินโดวส์ และ Mac OS X ส่วนลินุกซ์นั้นมีโครงการโอเพนซอร์สอย่าง Moonlight กำลังพัฒนาอยู่ ในรุ่นถัดไป Silverlight 2.0 (ถูกแนะนำต่อสาธารณชนเมือ 19 ตุลาคม 2008) สนับสนุนบางส่วนของ ดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก นักพัฒนาสามารถใช้ภาษาบนดอตเน็ตในการพัฒนาแอปพลิเคชันได้นอกเหนือไปจากจาวาสคริปต์ที่ใช้ใน Silverlight 1.0 Silverlight 3.0 ถูกแนะนำต่อสาธารณชนในงาน MIX09 ได้เพิ่มเติมส่วนสำคัญเช่น Navigation เฟรมเวิร์ก, Controls สำคัญๆเช่น DataGrid, ความสามารถในการใช้งานข้างนอก โปรแกรมค้นดูเว็บ เพื่อให้เหมาะสมในการนำไปใช้พัฒนาโปรแกรมทางธุรกิจทั่วไป Silverlight 4.0 ถูกแนะนำต่อสาธารณชนในงานเปิดตัว Visual Studio 2010 นอกจาก Controls ใหม่ๆที่ถูกเพิ่มเติมแล้วยังถูกปรับปรุงเพื่อให้ใช้งานร่วมกับ เครื่องพิมพ์ คลิปบอร์ด เว็บแคมและไมโครโฟน.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และไมโครซอฟท์ ซิลเวอร์ไลท์ · ดูเพิ่มเติม »

เบลก รอสส์

ลก รอสส์ หนึ่งในผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ไฟร์ฟอกซ์ ภาพถ่ายที่ลอนดอน เบลก อารอน รอสส์ (เกิด 12 มิถุนายน พ.ศ. 2528) นักพัฒนาซอฟต์แวร์ รู้จักในฐานผู้เริ่มพัฒนาเว็บเบราว์เซอร์ไฟร์ฟอกซ์ร่วมกับเดฟ ไฮแอตต์ เบลก รอสส์ เกิดที่เมืองไมอามี รัฐฟลอริดา เขาเริ่มหัดเขียนโปรแกรมในช่วงมิดเดิลสคูล โดยได้สร้างเว็บไซต์ส่วนตัวครั้งแรกเมื่ออายุได้ 10 ปี และได้เข้าฝึกงานกับทางเน็ตสเคปในช่วงที่เปิดสำหรับโอเพนซอร์ซ เมื่ออายุ 14 ปี ในขณะที่กำลังศึกษาที่ โรงเรียนกัลลิเวอร์ โดยหลังจบการศึกษาเขาได้ศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด โดยปัจจุบันเขาได้พักการเรียนเนื่องจากต้องการทุ่มเทให้กับการทำงาน ปัจจุบันเขาอาศัยอยู่ที่เมืองเมาน์เทนวิวในรัฐแคลิฟอร์เนี.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และเบลก รอสส์ · ดูเพิ่มเติม »

เบิร์กลีย์ซอฟต์แวร์ดิสทริบิวชัน

ร์กลีย์ซอฟต์แวร์ดิสทริบิวชั่น (Berkeley Software Distribution -BSD; Berkeley Unix) เป็นระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ที่พัฒนาและเผยแพร่โดย มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ เริ่มต้นในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 70 ชื่อบีเอสดียังคงมีอยู่ในระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่ ๆ ซึ่งสืบทอดมาจากดิสทริบิวชั่นนี้ เช่น FreeBSD, NetBSD, และ OpenBSD เป็นต้น บีเอสดีจัดว่าเป็นยูนิกซ์ที่ใช้กันแพร่หลายสำหรับคอมพิวเตอร์ระดับเวิร์กสเตชันในยุคนั้น ทั้งนี้อาจเป็นเพราะสัญญาอนุญาตใช้งานของบีเอสดีนั้นไม่ซับซ้อน ทำให้บริษัทอื่น ๆ นำเทคโนโลยีไปพัฒนาในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 80 จนสร้างความคุ้นเคยในวงกว้าง ถึงแม้ว่าในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 90 บีเอสดีจะถูกแทนที่ด้วย System V รีลีส 4.x และ OSF/1 แต่ในระยะหลังนี้มีการปรับปรุงและพัฒนาระบบปฏิบัติการโดยใช้ซอร์สโค้ดที่เปิดเผยของบีเอสดีเป็นแกนหลัก.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และเบิร์กลีย์ซอฟต์แวร์ดิสทริบิวชัน · ดูเพิ่มเติม »

เกกโก

ำหรับ Gecko ที่หมายถึงตุ๊กแก ดูที่ ตุ๊กแก Gecko (เกกโก) เป็นตัววาดหน้าเว็บ (layout engine) แบบโอเพนซอร์ส ซึ่งใช้ในโปรแกรมอินเทอร์เน็ตของมอซิลลาทุกตัว รวมถึงเว็บเบราว์เซอร์ มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์ และเบราว์เซอร์อื่น ๆ เดิมพัฒนาโดยบริษัทเน็ตสเคป คอมมูนิเคชันส์ ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของมูลนิธิมอซิลลา เกกโกมี API สำหรับเขียนโปรแกรมที่ครบครันทำให้มันเหมาะนำไปใช้สำหรับหน้าที่ต่าง ๆ ในโปรแกรมอินเทอร์เน็ต เช่น เว็บเบราว์เซอร์ โปรแกรมแสดงเนื้อหา และโปรแกรมลูกข่าย/แม่ข่าย เกกโกออกแบบมาให้ทำงานข้ามระบบปฏิบัติการได้ และสนับสนุนระบบปฏิบัติการหลายตัว เช่น วินโดวส์ ลินุกซ์ และแมคโอเอสเท็น.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และเกกโก · ดูเพิ่มเติม »

เมกะไบต์

มกะไบต์ (megabyte) เป็นหน่วยวัดปริมาณสารสนเทศหรือความจุของหน่วยเก็บ (storage) ในคอมพิวเตอร์ มีค่าเท่ากับหนึ่งล้านไบต์ เมกะไบต์นิยมเขียนย่อเป็น MB (อย่าสับสนกับ Mb ซึ่งใช้แทนเมกะบิต) หรือบางครั้งอาจพูดหรือเขียนเป็น เม็ก หรือ meg เนื่องจากความไม่สม่ำเสมอในการใช้อุปสรรคฐานสองในการนิยามและการใช้งาน ฉะนั้น ค่าแม่นตรงของกิโลไบต์ในทางปฏิบัติโดยทั่วไปอาจเป็นค่าใดค่าหนึ่งจากค่าดังต่อไปนี้:-.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และเมกะไบต์ · ดูเพิ่มเติม »

เร็นเดอริงเอนจิน

ร็นเดอริงเอนจิน (rendering engine) หรือ เลย์เอาต์เอนจิน (layout engine) หรือ ตัววาดหน้าเว็บ เป็นซอฟต์แวร์ที่นำข้อมูลเนื้อหาเว็บในลักษณะ HTML XML ภาพ วิดีโอ ไฟล์ รวมถึงข้อมูลในรูปแบบอื่น เช่น CSS XSL มาแสดงและจัดรูปแบบบนมอนิเตอร์แก่ผู้ใช้ โดยตัวเร็นเดอริงเอนจินนี้มักจะใช้กับ เว็บเบราว์เซอร์ ไคลเอนต์อีเมล หรือแอปพลิเคชันอื่นที่ต้องการแสดงผลข้อมูลเนื้อหาของเว็.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และเร็นเดอริงเอนจิน · ดูเพิ่มเติม »

เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม

วิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม หรือ ดับเบิลยูทรีซี (World Wide Web Consortium: W3C) คือองค์กรระหว่างประเทศทำหน้าที่จัดระบบมาตรฐานที่ใช้งานบนเวิลด์ไวด์เว็บ (WWW หรือ W3) โดยมีจุดมุ่งหมาย ที่จะเป็นแกนนำทางด้านพัฒนาโพรโทคอล และวิธีการใช้งานสำหรับเวิลด์ไวด์เว็บทั้งหมด นอกจากนี้ทาง W3C มีการบริการทางการศึกษา การพัฒนาซอฟต์แวร์ และเปิดให้ใช้ฟอรัมในการปรึกษาเกี่ยวกับเรื่องเว็บ เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม นำโดย ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และเวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม · ดูเพิ่มเติม »

เว็บบอร์ด

ว็บบอร์ด (web board, webboard) คือลักษณะของเว็บไซต์ที่ใช้สำหรับการแลกเปลี่ยนบทสนทนา การพูดคุย การอภิปรายในสังคมออนไลน์ นอกจากชื่อเว็บบอร์ดแล้ว ยังมีเรียกกันหลายชื่อไม่ว่า กระดานข่าว กระดานข่าวสาร กระดานข่าวอิเล็กทรอนิกส์ กระดานสนทนา กระดานสนทนาออนไลน์ ฟอรัม เว็บฟอรัม เมสเซจบอร์ด บุลลิทินบอร์ด ดิสคัชชันบอร์ด ฯลฯ หรือเรียกอย่างสั้นว่า บอร์ด ก็มี เรื่องราวที่มีการพูดคุยในแต่ละเว็บบอร์ดจะมีการแตกต่างกันไปในแต่ละเว็บบอร์ด บางเว็บบอร์ดจะมีหลายหัวข้อโดยแบ่งแยกย่อยออกไปเช่นที่ปรากฏได้แก่ เครกส์ลิสต์ กูเกิล กรุ๊ปส์หรือ ยาฮู! รู้รอบ หรือตัวอย่างในเว็บบอร์ดไทยได้แก่ พันทิป ประมูล ไทยมีบอร์ด และ เอ็มไทย และหลายเว็บบอร์ดมีเรื่องพูดคุยเฉพาะทางตัวอย่างเว็บบอร์ดไทยอาทิ ไทยแวร์ Overclock ในด้านคอมพิวเตอร์ หรือ Soccersuck ในด้านฟุตบอล Thaigaming ในด้านวิดีโอเกม ส่วนเว็บบอร์ดที่ใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่นคือ 2channel.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และเว็บบอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เว็บจีแอล

ว็บจีแอล (WebGL: Web Graphics Library ไลบรารีกราฟิกส์บนเว็บ) เป็นการใช้ภาษา javascript ในการเขียนโปรแกรมบนเว็บไซต์ ซึ่งมี API มาช่วยในเรื่องของการแสดงผลแบบ 3มิติ และ 2มิติ ซึ่งจะต้องทำงานภายใต้ web browser โดยไม่จำเป็นต้องติดตั้งปลักอินส์เพิ่ม เว็บจีแอล เป็นมาตรฐานของที่ทุก web browser จะสามารถประมวลผลภาพและแสดงเอฟเฟคต่างๆ ซึงเป็นส่วนหนึงของ canvas เว็บจีแอล สามารถใช้ร่วมกับแท็กต่างๆของ HTML ได้ เว็บจีแอลมีพื้นฐานอยู่บน OpenGL ES 2.0 และให้อินเตอร์เฟซสำหรับงานกราฟิกส์ 3 มิติ โดยการทำงานของ HTML5 canvas element และการเข้าถึงอินเตอร์เฟซของ Document Object Model interfaces.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และเว็บจีแอล · ดูเพิ่มเติม »

เว็บเบราว์เซอร์

วิลด์ไวด์เว็บ เว็บเบราว์เซอร์ตัวแรกของโลก ไม่มีข้อมูล เว็บเบราว์เซอร์ (web browser), เบราว์เซอร์ หรือ โปรแกรมค้นดูเว็บ คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ผู้ใช้สามารถดูข้อมูลและโต้ตอบกับข้อมูลสารสนเทศที่จัดเก็บในหน้าเว็บที่สร้างด้วยภาษาเฉพาะ เช่น ภาษาเอชทีเอ็มแอล ที่จัดเก็บไว้ที่เว็บเซอร์วิซหรือเว็บเซิร์ฟเวอร์หรือระบบคลังข้อมูลอื่น ๆ โดยโปรแกรมค้นดูเว็บเปรียบเสมือนเครื่องมือในการติดต่อกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เรียกว่าเวิลด์ไวด์เว็บ เว็บเบราว์เซอร์ตัวแรกของโลกชื่อ เวิลด์ไวด์เว็บ ขณะเดียวกันเว็บเบราว์เซอร์ที่นิยมมากที่สุดในปัจจุบัน (พ.ศ. 2559) คือ กูเกิล โครม รองลงมาคือมอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์ และอินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ ตามลำดั.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และเว็บเบราว์เซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เสิร์ชเอนจิน

ร์ชเอนจิน (search engine) หรือ โปรแกรมค้นหา คือ โปรแกรมที่ช่วยในการสืบค้นหาข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต โดยครอบคลุมทั้งข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล กลุ่มข่าว และอื่น ๆ ซึ่งแตกต่างกันไปแล้วแต่โปรแกรมหรือผู้ให้บริการแต่ละร.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และเสิร์ชเอนจิน · ดูเพิ่มเติม »

เอชทีทีพี

กณฑ์วิธีขนส่งข้อความหลายมิติ หรือ เอชทีทีพี (HyperText Transfer Protocol: HTTP) คือโพรโทคอลในระดับชั้นโปรแกรมประยุกต์เพื่อการแจกจ่ายและการทำงานร่วมกันกับสารสนเทศของสื่อผสม ใช้สำหรับการรับทรัพยากรที่เชื่อมโยงกับภายนอก ซึ่งนำไปสู่การจัดตั้งเวิลด์ไวด์เว็บ การพัฒนาเอชทีทีพีเป็นการทำงานร่วมกันของเวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม (W3C) และคณะทำงานเฉพาะกิจด้านวิศวกรรมอินเทอร์เน็ต (IETF) ซึ่งมีผลงานเด่นในการเผยแพร่เอกสารขอความเห็น (RFC) หลายชุด เอกสารที่สำคัญที่สุดคือ RFC 2616 (เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2542) ได้กำหนด HTTP/1.1 ซึ่งเป็นรุ่นที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน เอชทีทีพีเป็นมาตรฐานในการร้องขอและการตอบรับระหว่างเครื่องลูกข่ายกับเครื่องแม่ข่าย ซึ่งเครื่องลูกข่ายคือผู้ใช้ปลายทาง (end-user) และเครื่องแม่ข่ายคือเว็บไซต์ เครื่องลูกข่ายจะสร้างการร้องขอเอชทีทีพีผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์ เว็บครอว์เลอร์ หรือเครื่องมืออื่น ๆ ที่จัดว่าเป็น ตัวแทนผู้ใช้ (user agent) ส่วนเครื่องแม่ข่ายที่ตอบรับ ซึ่งเก็บบันทึกหรือสร้าง ทรัพยากร (resource) อย่างเช่นไฟล์เอชทีเอ็มแอลหรือรูปภาพ จะเรียกว่า เครื่องให้บริการต้นทาง (origin server) ในระหว่างตัวแทนผู้ใช้กับเครื่องให้บริการต้นทางอาจมีสื่อกลางหลายชนิด อาทิพร็อกซี เกตเวย์ และทุนเนล เอชทีทีพีไม่ได้จำกัดว่าจะต้องใช้ชุดเกณฑ์วิธีอินเทอร์เน็ต (TCP/IP) เท่านั้น แม้ว่าจะเป็นการใช้งานที่นิยมมากที่สุดบนอินเทอร์เน็ตก็ตาม โดยแท้จริงแล้วเอชทีทีพีสามารถ "นำไปใช้ได้บนโพรโทคอลอินเทอร์เน็ตอื่น ๆ หรือบนเครือข่ายอื่นก็ได้" เอชทีทีพีคาดหวังเพียงแค่การสื่อสารที่เชื่อถือได้ นั่นคือโพรโทคอลที่มีการรับรองเช่นนั้นก็สามารถใช้งานได้ ปกติเครื่องลูกข่ายเอชทีทีพีจะเป็นผู้เริ่มสร้างการร้องขอก่อน โดยเปิดการเชื่อมต่อด้วยเกณฑ์วิธีควบคุมการขนส่งข้อมูล (TCP) ไปยังพอร์ตเฉพาะของเครื่องแม่ข่าย (พอร์ต 80 เป็นค่าปริยาย) เครื่องแม่ข่ายเอชทีทีพีที่เปิดรอรับอยู่ที่พอร์ตนั้น จะเปิดรอให้เครื่องลูกข่ายส่งข้อความร้องขอเข้ามา เมื่อได้รับการร้องขอแล้ว เครื่องแม่ข่ายจะตอบรับด้วยข้อความสถานะอันหนึ่ง ตัวอย่างเช่น "HTTP/1.1 200 OK" ตามด้วยเนื้อหาของมันเองส่งไปด้วย เนื้อหานั้นอาจเป็นแฟ้มข้อมูลที่ร้องขอ ข้อความแสดงข้อผิดพลาด หรือข้อมูลอย่างอื่นเป็นต้น ทรัพยากรที่ถูกเข้าถึงด้วยเอชทีทีพีจะถูกระบุโดยใช้ตัวระบุแหล่งทรัพยากรสากล (URI) (หรือเจาะจงลงไปก็คือ ตัวชี้แหล่งในอินเทอร์เน็ต (URL)) โดยใช้ http: หรือ https: เป็นแผนของตัวระบุ (URI scheme).

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และเอชทีทีพี · ดูเพิ่มเติม »

เอชทีทีพีเอส

alt.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และเอชทีทีพีเอส · ดูเพิ่มเติม »

เอชทีเอ็มแอล

อชทีเอ็มแอล (HTML: Hypertext Markup Language ภาษามาร์กอัปข้อความหลายมิติ) เป็นภาษามาร์กอัปหลักในปจจุบันที่ใช้ในการสร้างเว็บเพจ หรือข้อมูลอื่นที่เรียกดูผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์ ซึ่งตัวโค้ดจะแสดงโครงสร้างของข้อมูล ในการแสดง หัวข้อ ลิงก์ ย่อหน้า รายการ รวมถึงการสร้างแบบฟอร์ม เชื่อมโยงภาพหรือวิดีโอด้วย โครงสร้างของโค้ดเอชทีเอ็มแอลจะอยู่ในลักษณะภายในวงเล็บสามเหลี่ยม เอชทีเอ็มแอลเริ่มพัฒนาโดย ทิม เบอร์เนอรส์ ลี (Tim Berners Lee) สำหรับภาษา SGML ในปัจจุบัน HTML เป็นมาตรฐานหนึ่งของ ISO ซึ่งจัดการโดย World Wide Web Consortium (W3C) ในปัจจุบัน ทาง W3C ผลักดัน รูปแบบของ HTML แบบใหม่ ที่เรียกว่า XHTML ซึ่งเป็นลักษณะของโครงสร้าง XML แบบหนึ่งที่มีหลักเกณฑ์ในการกำหนดโครงสร้างของโปรแกรมที่มีรูปแบบที่มาตรฐานกว่า มาทดแทนใช้ HTML รุ่น 4.01 ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน ขณะที่ HTML รุ่น 5 ยังคงยังอยู่ในระหว่างการพิจารณา โดยได้มีการออกดราฟต์มาเสนอเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 HTML ยังคงเป็นรูปแบบไฟล์อย่างหนึ่ง สำหรั.html และ สำหรั.htm ที่ใช้ในระบบปฏิบัติการที่รองรับ รูปแบบนามสกุล 3 ตัวอักษร.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และเอชทีเอ็มแอล · ดูเพิ่มเติม »

เอชทีเอ็มแอล5

อชทีเอ็มแอล5 (HTML5; อ่านว่า เอชทีเอ็มแอลไฟฟ์ หรือ เอชทีเอ็มแอลห้า) เป็นมาตรฐานตัวต่อไปของ HTML ที่อยู่ในระหว่างการพัฒนา โดยมีลักษณะเหมือนมาตรฐานตัวก่อนหน้าทั้ง HTML 4.01 และ XHTML 1.1 ที่ใช้ในการจัดโครงสร้างและการแสดงผลของเนื้อหาสำหรับเวิลด์ไวด์เว็บ มาตรฐานใหม่จะมีคุณลักษณะเด่นที่สำคัญได้แก.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และเอชทีเอ็มแอล5 · ดูเพิ่มเติม »

เอฟทีพี

อฟทีพี หรือ เกณฑ์วิธีถ่ายโอนแฟ้ม (FTP: File Transfer Protocol) เป็นโพรโทคอลเครือข่ายชนิดหนึ่ง ใช้สำหรับแลกเปลี่ยนและจัดการไฟล์บนเครือข่ายทีซีพี/ไอพีเช่นอินเทอร์เน็ต เอฟทีพีถูกสร้างขึ้นด้วยสถาปัตยกรรมแบบระบบรับ-ให้บริการ (client-server) และใช้การเชื่อมต่อสำหรับส่วนข้อมูลและส่วนควบคุมแยกกันระหว่างเครื่องลูกข่ายกับเครื่องแม่ข่าย โปรแกรมประยุกต์เอฟทีพีเริ่มแรกโต้ตอบกันด้วยเครื่องมือรายคำสั่ง สั่งการด้วยไวยากรณ์ที่เป็นมาตรฐาน แต่ก็มีการพัฒนาส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ขึ้นมาสำหรับระบบปฏิบัติการเดสก์ท็อปที่ใช้กันทุกวันนี้ เอฟทีพียังถูกใช้เป็นส่วนประกอบของโปรแกรมประยุกต์อื่นเพื่อส่งผ่านไฟล์โดยอัตโนมัติสำหรับการทำงานภายในโปรแกรม เราสามารถใช้เอฟทีพีผ่านทางการพิสูจน์ตัวจริงด้วยชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน หรือเข้าถึงด้วยผู้ใช้นิรนาม นอกจากนี้ยังมีทีเอฟทีพี (Trivial File Transfer Protocol) ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับเอฟทีพีที่ลดความซับซ้อนลง แต่ไม่สามารถควบคุมให้ทำงานประสานกันได้ และไม่มีการพิสูจน์ตัวจริง.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และเอฟทีพี · ดูเพิ่มเติม »

เอพีไอ

อพีไอ หรือ ส่วนต่อประสานโปรแกรมประยุกต์ (application programming interface: API) หมายถึงวิธีการที่ระบบปฏิบัติการ ไลบรารี หรือบริการอื่นๆ เปิดให้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สามารถติดต่อเรียกใช้งานได้ เอพีไอ แบ่งเป็น.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และเอพีไอ · ดูเพิ่มเติม »

เอกซ์เอชทีเอ็มแอล

อกซ์เอชทีเอ็มแอล (XHTML: Extensible Hypertext Markup Language ภาษามาร์กอัปข้อความหลายมิติขยายได้) เป็นภาษามาร์กอัปที่มีลักษณะการใช้งานเหมือน HTML แต่จะมีความเข้มงวดในเรื่องโครงสร้างภาษา โดยมีวากยสัมพันธ์สอดคล้องกับ XML เนื่องจาก HTML นั้นใช้โครงสร้างของ SGML ที่ค่อนข้างยืดหยุ่น ในขณะที่ XHTML นั้นพัฒนาจาก XML ซึ่งเป็นภาษาที่คล้ายกับ SGML แต่เข้มงวดมากกว่า เราสามารถมองว่า XHTML เป็นการแปลง HTML เดิมให้มาอยู่ในโครงสร้างของ XML ก็ได้ XHTML 1.0 ได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของ World Wide Web Consortium (W3C) ในวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2543 และกลายมาเป็น W3C recommendation เมื่อ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2544 อย่างไรก็ตาม XHTML 2.0 จะหยุดภายในสิ้นปี 2552 โดยหวังจะพัฒนา HTML 5 แทนที.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และเอกซ์เอชทีเอ็มแอล · ดูเพิ่มเติม »

เอกซ์เอ็มแอล

อกซ์เอ็มแอล (XML: Extensible Markup Language ภาษามาร์กอัปขยายได้) เป็นภาษามาร์กอัปสำหรับการใช้งานทั่วไป พัฒนาโดยW3C โดยมีจุดประสงค์เพื่อเป็น สิ่งที่เอาไว้ติดต่อกันในระบบที่มีความแตกต่างกัน (เช่นใช้คอมพิวเตอร์มี่มีระบบปฏิบัติการคนละตัว หรืออาจจะเป็นคนละโปรแกรมประยุกต์ที่มีความต้องการสื่อสารข้อมูลถึงกัน) นอกจากนี้ยังเพื่อเป็นพื้นฐานในการสร้างภาษามาร์กอัปเฉพาะทางอีกขั้นหนึ่ง XML พัฒนามาจาก SGML โดยดัดแปลงให้มีความซับซ้อนลดน้อยลง XML ใช้ในแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่แตกต่างกัน และเน้นการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต XML ยังเป็นภาษาพื้นฐานให้กับภาษาอื่นๆ อีกด้วย (ยกตัวอย่างเช่น Geography Markup Language (GML), RDF/XML, RSS, MathML, Physical Markup Language (PML), XHTML, SVG, MusicXML และ cXML) ซึ่งอนุญาตให้โปรแกรมแก้ไขและทำงานกับเอกสารโดยไม่จำเป็นต้องมีความรู้ในภาษานั้นมาก่อน.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และเอกซ์เอ็มแอล · ดูเพิ่มเติม »

เอสวีจี

SVG: Scalable Vector Graphics ''ภาพกราฟิกส์เวกเตอร์ปรับขนาดได้'') เป็นภาษามาร์กอัปบนมาตรฐาน XML สำหรับอธิบายภาพกราฟิกส์เวกเตอร์ 2 มิติ ทั้งที่เป็นภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว เอสวีจีเป็นมาตรฐานเปิดที่ดูแลโดย World Wide Web Consortium เวอร์ชันล่าสุดคือ SVG 1.1 มาตรฐานของเอสวีจี ประกอบด้วยวัตถุต่างกัน 3 ชนิดดังนี้ # รูปร่างต่างๆ ที่เป็นเวกเตอร์ เช่น สี่เหลี่ยม วงกลม ประกอบด้วยเส้นตรงและเส้นโค้ง # ภาพแบบแรสเตอร์ # ข้อความ.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และเอสวีจี · ดูเพิ่มเติม »

เจเพ็ก

(JPEG) คือรูปแบบการบีบอัดแฟ้มภาพแบบสูญเสีย โดยยังให้เสียความละเอียดน้อยที่สุด รูปแบบแฟ้มสำหรับวิธีการนี้ได้แก.jpeg,.jpg,.jpe,.jfif,.jfi (อาจจะเป็นตัวเล็กหรือตัวใหญ่ก็ได้) รูปแบบแฟ้ม JPEG นี้ เป็นรูปแบบแฟ้มที่ใช้กันในการจัดเก็บและแลกเปลี่ยนรูปภาพบนเวิลด์ไวด์เว็บมากที่สุด โดยเฉพาะภาพถ่าย เนื่องจากสามารถเก็บความละเอียดสูงได้โดยใช้ขนาดไฟล์ที่เล็ก สามารถเก็บภาพสีได้หลากหลายระดับความแม่นยำของสี(Bit Depth) ความสามารถในการย่อขนาดไฟล์ของแฟ้ม JPEG นั้นเกิดจากการใช้เทคนิคการย่อขนาดภาพแบบการบีบอัดคงข้อมูลหลัก (Lossy Compression) หรือการบีบอัดแบบมีความสูญเสียทำให้ไม่นิยมใช้กับภาพที่เป็นลายเส้นหรือไอคอนต่าง ๆ เนื่องจากจะไม่ได้ประสิทธิภาพเท่าการเก็บในรูปแบบอื่น อย่าง PNG หรือ GIF การบีบอัดของ JPEG นั้นจะใช้เทคนิคที่เรียกว่า DCT (Discrete Cosine Transform) ซึ่งเป็นการแปลงค่าความสว่างของภาพให้อยู่ในรูปแบบเชิงความถี่ (Frequency Domain) ทำให้สามารถเลือกแทนค่าของสัมประสิทธิ์หรือในที่นี้คือแอมพลิจูดของค่าความถี่ต่างๆ ได้โดยอาศัยตัวแปรที่มีนัยสำคัญที่ต่างกันได้ การที่สามารถลดนัยสำคัญของค่าตัวเลขลงไปได้ทำให้สามารถลดขนาดของหน่วยความจำหรือขนาดไฟล์ที่ใช้เก็บตามไปได้ ชื่อ JPEG เดิมย่อมาจาก Joint Photographic Experts Group กลุ่มผู้พัฒนามาตรฐาน JPEG, JPEG 2000, และ JPEG XR.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และเจเพ็ก · ดูเพิ่มเติม »

เดฟ ไฮแอตต์

ฟ ไฮแอตต์ (Dave Hyatt) เป็นโปรแกรมเมอร์ชาวอเมริกัน ปัจจุบันทำงานที่บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ (เริ่มต้นเมื่อ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 โดยรับผิดชอบในส่วนของโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ ซาฟารี โดยก่อนหน้านี้เดฟ ไฮแอตต์ ทำงานที่บริษัทเนตสเคปคอมมิวนิเคชัน (Netscape Communications Corporation) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 ถึงปี พ.ศ. 2545 โดยพัฒนา มอซิลลา คามิโน และไฟร์ฟอกซ์ ไฮแอทได้เป็นผู้ค้นคิดระบบการใช้แท็บในเบราว์เซอร์สำหรับโปรแกรมทั้งสามตัว นอกจากนี้ไฮแอทได้เป็นผู้เริ่มต้นเขียนมาตรฐานของภาษาคอมพิวเตอร์ XBL และ XUL เดฟ ไฮแอตต์ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัยไรซ์ (Rice University) และปริญญาโทจากมหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ เออร์แบนา-แชมเปญจน.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และเดฟ ไฮแอตต์ · ดูเพิ่มเติม »

เดเบียน

ียน (Debian) เป็นชุดของซอฟต์แวร์เสรีที่พัฒนาโดยอาสาสมัครภายใต้โครงการเดเบียน ภายใต้โครงการนี้มีเดเบียนลินุกซ์ (Debian GNU/Linux) ที่ใช้ลินุกซ์เป็นเคอร์เนล และใช้เครื่องมือต่าง ๆ ในโครงการ GNU ประกอบกันเป็นระบบปฏิบัติการ เดเบียนมีชื่อเสียงในฐานะที่เป็นลินุกซ์ดิสทริบิวชันแรกที่ประสบความสำเร็จในการพัฒนาด้วยชุมชนล้วน ๆ โดยไม่มีเอกชนอยู่เบื้องหลัง มีการสร้างสัญญาประชาคม บทนิยามซอฟต์แวร์เสรี และแนวนโยบายที่ชัดเจนทั้งทางเทคนิคและการบริหารงาน กลายเป็นต้นแบบให้กับชุมชนอื่น ๆ ต่อมา รวมถึงปริมาณแพกเกจในโครงการมากกว่า 37,000 แพกเกจ และรองรับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์มากกว่า 11 ชนิด ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่คอมพิวเตอร์ฝังตัว ไปจนถึงเมนเฟรม มีลินุกซ์ดิสทริบิวชันจำนวนมากที่นำเดเบียนไปพัฒนาต่อ อย่างเช่น อูบุนตู หรือ Knoppix เป็นต้น.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และเดเบียน · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องหมายวรรคตอน

รื่องหมายวรรคตอน เป็นเครื่องหมาย หรือสัญลักษณ์ที่เขียนขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเขียนอักษรในภาษาหนึ่ง ๆ เพื่อประโยชน์ในการแบ่งวรรคตอน มักจะไม่เกี่ยวกับระบบเสียงใด ๆ ทั้งสิ้น ในแต่ละภาษาจะมีเครื่องหมายวรรคตอนต่าง ๆ กัน และมีกฎเกณฑ์การใช้ต่าง ๆ กัน ซึ่งผู้ใช้ภาษานั้นจะต้องทราบ และใช้ตามกฎที่ปฏิบัติกันมา เพื่อให้มีความเข้าใจในภาษาไปในทางเดียวกัน.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และเครื่องหมายวรรคตอน · ดูเพิ่มเติม »

CSS

CSS อาจหมายถึง; ในทางคอมพิวเตอร.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และCSS · ดูเพิ่มเติม »

GIF

ตัวอย่างภาพแอนิเมชันในลักษณะของแฟ้ม GIF สังเกตสีจะมีสีไม่ต่อเนื่อง GIF (ออกเสียง "จิฟ" หรือ "กิฟ" มาจาก Graphics Interchange Format) เป็นรูปแบบแฟ้มภาพและแฟ้มภาพเคลื่อนไหว รูปแบบ GIF ถูกออกแบบโดย Compuserve ซึ่งเป็นระบบเครือข่ายข่าวสารแบบออนไลน์ เพื่อให้บริการแลกเปลี่ยนกราฟิกในรูปแบบบิตแมป ภาพแบบGIF มีข้อจำกัดอยู่ตรงด้านแผงสีแบบ Index ภาพสีแบบ 24bit (RGB) ไม่สามารถใช้ได้ แผงสีสามารถบรรจุได้ 2-256 สี ซึ่งสร้างจากข้อมูลสี 24 บิท แฟ้มแบบ GIF โดยใช้การบีบขนาด LZW แบบประยุกต์ ทำให้เปลืองพื้นที่ความจุน้อยกว่า สำหรับการออกเสียงคำว่า GIF มีการโต้เถียงกันหลายที่ ขึ้นอยู่กับภาษาที่ใช้ โดยทางผู้ผลิตได้สรุปวิธีอ่านของตัวเองไว้ ผู้ผลิตซอฟต์แวร์หลายรายกังวลเกี่ยวกับปัญหาสิทธิบัตรของแฟ้มแบบ GIF ซึ่งจดโดย Unisys ทำให้มีการสร้างรูปแบบแฟ้มภาพชนิดใหม่ที่ชื่อว่า PNG (Portable Network Graphics) ขึ้นมาทดแทน อย่างไรก็ตามสิทธิบัตรของ GIF หมดอายุแล้วเมื่อ ค.ศ. 2003 และ GIF ยังเป็นที่นิยมใช้งานต่อไปจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และGIF · ดูเพิ่มเติม »

TIS-620

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 620-2533, มอก.620-2533, หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า TIS-620 เป็นชุดอักขระมาตรฐานอุตสาหกรรมของไทย มีชื่อเต็มว่า รหัสสำหรับอักขระไทยที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ รหัส TIS-620 มีรายละเอียดคล้ายรหัส ISO-8859-11 มาก แตกต่างกันแค่เพียงที่ ISO-8859-11 กำหนดให้ A0 เป็น "เว้นวรรคแบบไม่ตัดคำ" (no-break space) ส่วน TIS-620 นั้นแม้จะสงวนตำแหน่ง A0 เอาไว้ แต่ก็ไม่ได้กำหนดค่าใด ๆ ให้ TIS-620 x0x1x2x3x4x5x6x7x8x9xAxBxCxDxExF 0xไม่ได้ใช้ 1x 2xSP!"#$%&'()*+,-./ 3x0123456789:;<.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และTIS-620 · ดูเพิ่มเติม »

XMLHttpRequest

XMLHttpRequest (XHR) เป็นเอพีไอที่สามารถเรียกใช้ได้จาก จาวาสคริปต์ เจสคริปต์ วีบีสคริปต์ และภาษาสคริปต์อื่นๆ ในการแลกเปลี่ยน และปรับรูปแบบ XML จากเว็บเซิร์ฟเวอร์ โดยใช้ HTTP ซึ่งสร้างการเชื่อมต่อระหว่างเว็บเบราว์เซอร์ (Client-Side) กับ เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Server-Side) XMLHttpRequest นั้นถือเป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันโดยใช้เทคนิค AJAX.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และXMLHttpRequest · ดูเพิ่มเติม »

24 ตุลาคม

วันที่ 24 ตุลาคม เป็นวันที่ 297 ของปี (วันที่ 298 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 68 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และ24 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 เมษายน

วันที่ 24 เมษายน เป็นวันที่ 114 ของปี (วันที่ 115 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 251 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และ24 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

29 พฤศจิกายน

วันที่ 29 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 333 ของปี (วันที่ 334 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 32 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และ29 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

3 เมษายน

วันที่ 3 เมษายน เป็นวันที่ 93 ของปี (วันที่ 94 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 272 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และ3 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

9 พฤศจิกายน

วันที่ 9 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 313 ของปี (วันที่ 314 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 52 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และ9 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

9 กุมภาพันธ์

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 40 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 325 วันในปีนั้น (326 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์และ9 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Mozilla Firefoxมอซิลลา ไฟเยอร์ฟอกซ์มอซิลลาไฟร์ฟอกซ์โมซิลลา ไฟร์ฟอกซ์โมซิลล่า ไฟร์ฟ็อกซ์ไฟร์ฟอกซ์ไฟร์ฟ็อกซ์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »