เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

มหาสฟิงซ์และเส้นนัซกา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง มหาสฟิงซ์และเส้นนัซกา

มหาสฟิงซ์ vs. เส้นนัซกา

มหาสฟิงซ์แห่งกิซ่า หมอบเฝ้าอยู่ใกล้กับ พีระมิดคาเฟร มหาสฟิงซ์ (The Great Sphinx of Giza) คือ รูปสฟิงซ์แกะสลักด้วยหินขนาดใหญ่ที่สุด ใน ประเทศอียิปต์ มีตัวเป็น สิงโต และมีหัวเป็น มนุษย์ อยู่ในบริเวณหมู่พีระมิดทั้ง 3 แห่งกิซ่า หมอบเฝ้าอยู่ใกล้กับ พีระมิดคาเฟร โดยหันหน้าไปทาง ทิศตะวันออก สฟิงซ์คือชื่อ สัตว์ประหลาด ในตำนานไอยคุปต์วิทยา และมีในตำนานชนชาติอื่นด้วย มีลักษณะต่างกันไป แต่จะมีตัวเป็นสิงโตเหมือนกัน สฟิงซ์ในตำนานกรีก มีใบหน้าและช่วงอก เป็นหญิงสาว มีปีกแบบนกอินทรีย์ และสามารถพูดภาษามนุษย์ได้ สฟิงซ์จะคอยถามคำถาม กับมนุษย์ที่หลงมาพบมันเข้า หากตอบคำถามไม่ได้ มนุษย์ผู้เคราะห์ร้ายนั้นก็จะถูกสังหาร ส่วนสฟิงซ์ของอียิปต์โบราณ ไม่มีปีกมีหน้าเป็นมนุษย์ผู้ชาย และยังมีแบบที่หัวเป็นแกะ (Criosphinx) และหัวเป็นนกเหยี่ยว (Hierocosphinx) อีกด้วย ชาวอียิปต์โบราณ แกะสลักหินเป็นรูปสฟิงซ์ไว้เป็นจำนวนมาก แต่ที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ มหาสฟิงซ์แห่งกิซ่า นี้เอง โดยนักโบราณคดีเชื่อว่า มหาสฟิงซ์แห่งกิซ่าเป็นอนุสาวรีย์ของ ฟาโรห์คาเฟร (Khafre) หรือ คีเฟรน(Chephren) ฟาโรห์ในราชวงศ์ที่ 4 ผู้สร้างพีระมิดคาเฟร เมื่อประมาณ 2600 ปี ก่อนคริสตกาล โดยเชื่อว่าใบหน้าของมหาสฟิงซ์ จำลองมาจากใบหน้า ของฟาโรห์คีเฟรน และสามารถสังเกตว่าส่วนหัวของ มหาสฟิงซ์ มีสัญลักษณ์ของฟาโรห์อียิปต์ แสดงเอาไว้อย่างชัดเจน คือมีเคราที่คาง มีงูจงอางแผ่แม่เบี้ยที่หน้าผาก และยังมีเครื่องประดับ รัดเกล้าแบบฟาโรห์ ประกอบเข้ากับผ้าคลุมศีรษะ และคออีกด้วย จึงถือกันว่ามหาสฟิงซ์นี้ เป็นอนุสาวรีย์แกะสลักเก่าแก่ที่สุดที่รู้จักกัน อียิปต์โบราณถือกันว่าสฟิงซ์เป็นร่างจำแลงภาคหนึ่งของเทพเจ้า การที่ฟาโรห์คาเฟร ให้แกะสลักใบหน้าสฟิงซ์เป็นใบหน้าของพระองค์ จึงเป็นการแสดงว่าพระองค์เปรียบดังเทพเจ้านั่นเอง. ้นนัซกา (Nazca Lines) เป็นลายเส้นลึกลับที่กินอาณาเขตพื้นที่กว่า 520 ตารางกิโลเมตรบนทะเลทรายนัซกา ระหว่างเมืองนัซกากับเมืองปัลปาในแคว้นอีกา ประเทศเปรู สันนิษฐานว่าชาวนัซกาโบราณ (ซึ่งครอบครองดินแดนเปรูมาก่อนยุคจักรวรรดิอินคา) ขุดลายเส้นเหล่านี้ขึ้นเมื่อประมาณ 200 ปีก่อนคริสตกาลถึงประมาณปี ค.ศ. 500 ชาวนัซกาโบราณเป็นเกษตรกรเพาะปลูกอยู่บนที่ราบชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก ไม่ได้ทิ้งหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษรไว้เลย ที่พอจะเข้าใจได้บ้างก็มาจากการศึกษาสุสานและข้าวของเครื่องใช้ในหลุมฝังศพเท่านั้น ซึ่งไม่ทราบแน่ชัดว่าเพราะเหตุใดพวกเขาจึงทำลวดลายเหล่านี้ขึ้น ลายเส้นนัซกาที่ทำขึ้นเป็นแบบวิธีเดียวกันหมด คือ ขุดเอาหินทรายสีแดงบนพื้นผิวทะเลทรายออก แล้วเปิดให้เห็นชั้นหินสีเหลืองอ่อนที่อยู่ข้างใน ไม่มีร่องรอยการใช้สัตว์ช่วยแม้แต่น้อย และภาพเป็นเส้นเดียวไม่ขาดตอน ภาพของลายเส้นนัซกาแบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ ๆ คือภาพที่เป็นรูปทรงและภาพที่เป็นเส้นลายเฉย ๆ มีภาพสัตว์ นก รูปเรขาคณิต เป็นต้น เส้นนัซกาได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกในปี พ.ศ. 2537.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง มหาสฟิงซ์และเส้นนัซกา

มหาสฟิงซ์และเส้นนัซกา มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง มหาสฟิงซ์และเส้นนัซกา

มหาสฟิงซ์ มี 15 ความสัมพันธ์ขณะที่ เส้นนัซกา มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (15 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง มหาสฟิงซ์และเส้นนัซกา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: