เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล vs. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (Rajamangala University of Technology) เป็นระบบมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปัจจุบันมีอยู่ 9 แห่งทั่วประเทศ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2518 ในชื่อ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อใหม่ว่า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และได้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล.. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (อังกฤษ: Rajamangala University of Technology Isan) เป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีที่จัดการเรียนการสอนในพื้นที่ 4 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ นครราชสีมา ขอนแก่น สกลนคร และสุรินทร์ โดยได้รับการยกฐานะจากวิทยาเขตในสังกัดสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล เป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล จำนวน 9 แห่งทั่วประเทศไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน อยู่ห่างจากตัวเมืองประมาณ 3 กิโลเมตร พื้นที่หลักของมหาวิทยาลัยฯมีเนื่อที่ประมาณ 330 ไร่ ติดกับถนนสุรนารายณ์ และยังมีพื้นที่ป่าหนองระเวียง เดิมใช้เป็นพื้นที่ฝึกภาคสนามของนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเรียกว่า "ศูนย์ฝึกภาคสนามหนองระเวียง" ปัจจุบันมหาวิทยาลัยฯได้รักษาสภาพพื้นที่ป่านี้ไว้ เพื่อใช้เป็นโรงเรียนธรรมชาติ มีพื้นที่ทั้งหมด 2,600 ไร่ มีรั้วล้อมรอบอย่างถาวร มีการแบ่งพื้นที่เป็นส่วนๆ คือ สวนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ จำนวน 200 ไร่ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา จำนวน 200 ไร่ พื้นที่รองรับการขยายการศึกษาของมหาวิทยาลัยฯ จำนวน 1,100 ไร่ และพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จำนวน 1,000 ไร.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน มี 41 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2518พ.ศ. 2531พ.ศ. 2548พ.ศ. 2552พ.ศ. 2556พ.ศ. 2559พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระมหาพิชัยมงกุฎพิธีสำเร็จการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนครมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่นมงคล อุทกวันราชมงคลวินิจ โชติสว่างสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสวาสดิ์ ไชยคุณาสวนอัมพรสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ประเทศไทย)สุรเกียรติ์ เสถียรไทยสีส้มสีน้ำเงินสีเหลือง...สีเผือก คนด่านเกวียนสถาบันอุดมศึกษาของรัฐอำเภอธัญบุรีจังหวัดปทุมธานีติ๊ก ชิโร่13 กุมภาพันธ์14 สิงหาคม15 กันยายน15 สิงหาคม18 มกราคม27 กุมภาพันธ์ ขยายดัชนี (11 มากกว่า) »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2518และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · พ.ศ. 2518และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2531และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · พ.ศ. 2531และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2548และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · พ.ศ. 2548และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

พ.ศ. 2552และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · พ.ศ. 2552และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2556และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · พ.ศ. 2556และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

พ.ศ. 2559และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · พ.ศ. 2559และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาพิชัยมงกุฎ

ระมหาพิชัยมงกุฎ ซุ้มเฉลิมพระเกียรติในงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พุทธศักราช 2549 แสดงภาพจำลองพระมหาพิชัยมงกุฎ พระมหาพิชัยมงกุฎ เป็นหนึ่งในห้าของเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ์ อันเป็นเครื่องทรงในพระมหากษัตริย์แห่งพระราชอาณาจักรไทยตั้งแต่สมัยโบราณ จนถึงปัจจุบัน.

พระมหาพิชัยมงกุฎและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · พระมหาพิชัยมงกุฎและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

พิธีสำเร็จการศึกษา

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานปริญญาบัตร แก่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีประจำปีการศึกษา 2520 ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิธีสำเร็จการศึกษา (graduation ceremony) เป็นพิธีการพิเศษซึ่งสถาบันอุดมศึกษาจัดขึ้นเพื่อมอบปริญญาบัตรแก่บัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษาประจำปีอย่างเป็นทางการ โดยเริ่มจัดให้มีขึ้นในต่างประเทศมาก่อน เช่นสหรัฐอเมริกาหรือหลายประเทศในทวีปยุโรป ต่อมาประเทศไทยจึงเริ่มรับเอาประเพณีดังกล่าวเข้ามา โดยกราบบังคมทูลเชิญพระมหากษัตริย์ เพื่อเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธาน จึงบัญญัติศัพท์ให้เรียกว่า พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ทั้งนี้ตั้งแต..

พิธีสำเร็จการศึกษาและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · พิธีสำเร็จการศึกษาและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ (Kalasin University) คือสถาบันอุดมศึกษาของรัฐตั้งอยู่ในจังหวัดกาฬสินธุ์ มีการจัดโครงสร้างการเรียนการสอนแบ่งเป็น 9 คณะ จำนวนหลักสูตรทั้งสิ้น 67 หลักสูตร โดยแบ่งเป็น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงจำนวน 10 หลักสูตร ระดับปริญญาตรีหลักสูตร 2 ปี (เทียบโอนรายวิชา) จำนวน 11 หลักสูตร ระดับปริญญาตรีหลักสูตร 3 ปี (เทียบโอนรายวิชา) จำนวน 1 หลักสูตร ระดับปริญญาตรีหลักสูตร 4 ปี จำนวน 32 หลักสูตร ระดับปริญญาตรีหลักสูตร 5 ปี จำนวน 6 หลักสูตร และระดับปริญญาโท จำนวน 7 หลักสูตร.

มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ศูนย์หาดใหญ่ หรือศูนย์อรรถกระวีสุนทร (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ในปัจจุบัน) ศูนย์ทาง วิทยาเขตหาดใหญ่ เปิดสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ และสาขาเฉพาะ และปัจจุบันได้สอนทางด้านสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ในบางสาขาอีกด้วย และเป็นที่ตั้งกลางของมหาวิทยาลัย ประกอบไปด้วยหน่วยงานสำคัญ คือ สำนักงานอธิการบดี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลทันตกรรม สำนักงานวิจัยและพัฒนา สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง หอสมุดวิทยาศาสตร์สุขภาพ สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ โรงเรียนม.อ.วิทยานุสรณ์ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี เป็นต้น.

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (Rajamangala University of Technology) เป็นระบบมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปัจจุบันมีอยู่ 9 แห่งทั่วประเทศ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2518 ในชื่อ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อใหม่ว่า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และได้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล..

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (อังกฤษ: Rajamangala University of Technology Isan) เป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีที่จัดการเรียนการสอนในพื้นที่ 4 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ นครราชสีมา ขอนแก่น สกลนคร และสุรินทร์ โดยได้รับการยกฐานะจากวิทยาเขตในสังกัดสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล เป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล จำนวน 9 แห่งทั่วประเทศไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน อยู่ห่างจากตัวเมืองประมาณ 3 กิโลเมตร พื้นที่หลักของมหาวิทยาลัยฯมีเนื่อที่ประมาณ 330 ไร่ ติดกับถนนสุรนารายณ์ และยังมีพื้นที่ป่าหนองระเวียง เดิมใช้เป็นพื้นที่ฝึกภาคสนามของนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเรียกว่า "ศูนย์ฝึกภาคสนามหนองระเวียง" ปัจจุบันมหาวิทยาลัยฯได้รักษาสภาพพื้นที่ป่านี้ไว้ เพื่อใช้เป็นโรงเรียนธรรมชาติ มีพื้นที่ทั้งหมด 2,600 ไร่ มีรั้วล้อมรอบอย่างถาวร มีการแบ่งพื้นที่เป็นส่วนๆ คือ สวนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ จำนวน 200 ไร่ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา จำนวน 200 ไร่ พื้นที่รองรับการขยายการศึกษาของมหาวิทยาลัยฯ จำนวน 1,100 ไร่ และพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จำนวน 1,000 ไร.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ์ เป็นอดีตวิทยาเขตในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เริ่มเปิดทำการสอนเมื่อปี พ.ศ. 2482 ตั้งอยู่ที่ 62/1 ถนนเกษตรสมบูรณ์ ตำบลกาฬสินธุ์ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เมื่อวันที่ 8 กันยายน..

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ์ · มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร เป็นวิทยาเขตในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เริ่มเปิดทำการสอนเมื่อปี พ.ศ. 2539 ตั้งอยู่ที่ตำบลพังโคน อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร ห่างจากตัวจังหวัด 50 กิโลเมตร.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร · มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เป็นวิทยาเขตในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เริ่มเปิดทำการสอนเมื่อปี พ.ศ. 2473 ตั้งอยู่ที่ตำบลนอกเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ · มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น เป็นวิทยาเขตในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เริ่มเปิดทำการสอนเมื่อปี พ.ศ. 2507 ตั้งอยู่ที่ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น · มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

มงคล อุทก

มงคล อุทก หรือ หว่อง คาราวาน เป็นนักดนตรีเพื่อชีวิตและจิตรกรชาวไทย หนึ่งในสี่สมาชิกหลักของ คาราวาน เป็นอดีตสมาชิกวงบังคลาเทศแบนด์ ร่วมกับทองกราน ทานา (อืด) ก่อนจะร่วมกับวงดนตรีของสุรชัย จันทิมาธร ก่อตั้งเป็นวงคาราวาน เมื่อ..

มงคล อุทกและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · มงคล อุทกและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

วันราชมงคล

วันราชมงคล เป็นวันคล้ายวันพระราชทานนามให้แก่วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาว่า "สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล" โดยเมื่อปี พ.ศ. 2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อใหม่ให้แก่วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาว่า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งหมายความว่า สถาบันเทคโนโลยีอันเป็นมิ่งมงคลแห่งพระราชา ในวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2531 จึงถือเอาวันดังกล่าวเป็นวันราชมงคล ซึ่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลทั้ง 9 แห่ง ได้จัดกิจกรรมต่างๆ ในวันดังกล่าวเป็นประจำทุกปี เพื่อแสดงออกถึงความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและวันราชมงคล · มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานและวันราชมงคล · ดูเพิ่มเติม »

วินิจ โชติสว่าง

รองศาสตราจารย์ ดร.วินิจ โชติสว่าง อดีตอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและวินิจ โชติสว่าง · มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานและวินิจ โชติสว่าง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 - 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) เป็นพระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวกับพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ประสูติ ณ พระที่นั่งเทพสถานพิลาส ในหมู่พระมหามณเฑียร พระบรมมหาราชวัง ก่อนที่สมเด็จพระบรมชนกนาถจะเสด็จสวรรคตในวันต่อมา พระนาม เพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี นั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้ในพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ โดยมีคำนำหน้าพระนามเป็นสมเด็จพระเจ้าภาติกาเธอ (ลูกสาวของพี่ชาย) ในรัชกาลที่ 7 และเป็นพระภคินี (ลูกพี่ลูกน้อง) ในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และโดยพระชนมายุพระองค์จึงเคยเป็นพระกุลเชษฐ์ในพระบรมราชจักรีวงศ์ หลังจากเสด็จนิวัตประเทศไทยเป็นการถาวร พระองค์ทรงปฏิบัติพระกรณียกิจเพื่อแบ่งเบาพระราชภาระในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชอยู่เป็นนิจ จนกระทั่งสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอในรัชกาลที่ 9 ทรงเจริญพระวัยและทรงสามารถแบ่งเบาพระราชกรณียกิจได้ กอปรกับพระองค์มีพระชนมายุสูงขึ้นจึงเสด็จออกทรงเยี่ยมราษฎรในถิ่นทุรกันดารน้อยลง นอกจากนี้ พระองค์ทรงรับสถาบันและองค์กรต่างๆ ทั้งในส่วนที่สืบสานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี และโดยส่วนพระองค์เองไว้ในพระอุปถัมภ์มากกว่า 30 แห่ง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สิ้นพระชนม์ด้วยพระอาการติดเชื้อในกระแสพระโลหิต เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เวลา 16.37 นาฬิกา ณ ตึก 84 ปี โรงพยาบาลศิริราช สิริพระชนมายุ 85 พรรษา 8 เดือน 3 วัน.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี · มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานและสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระโสทรกนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน..

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สวาสดิ์ ไชยคุณา

ตราจารย์สวาสดิ์ ไชยคุณา อธิการบดีวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาคนแรก (พ.ศ. 2518) เป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา และพัฒนากิจการของวิทยาลัยฯ อย่างต่อเนื่อง จนเป็นที่ยอมรับ นับถือของคณาจารย์ ศิษย์เก่า และนักศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลทุกแห่ง.สวาสดิ์ ไชยคุณา จบการศึกษาชั้นมัธยมที่โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย เมื่อปี พ.ศ. 2489 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ด้านรัฐศาสตร์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (สิงห์ดำ รุ่น 1) เมื่อปี..

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและสวาสดิ์ ไชยคุณา · มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานและสวาสดิ์ ไชยคุณา · ดูเพิ่มเติม »

สวนอัมพร

อาคารใหม่ สวนอัมพร สวนอัมพร เป็นสถานที่จัดงานอยู่บริเวณด้านหน้าลานพระบรมรูปทรงม้า ถนนอู่ทองใน แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ตรงกลางเป็นสระน้ำขนาดใหญ่รูปวงกลม มีน้ำพุ มีอาคารจัดงาน และเวทีการแสดงกลางแจ้ง สวนอัมพรอยู่ภายใต้การดูแลของสำนักพระราชวัง สวนอัมพร สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นที่รู้จักกันว่าเป็นแหล่งลีลาศของหนุ่มสาวในสมัยนั้น นอกจากนั้นยังเป็นสถานที่จัดงานกาชาด, งานเมาลิดกลาง เป็นประจำทุกปี เป็นสถานที่จัดงานพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของสถาบันการศึกษาหลายแห่ง เช่น มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต สวนอัมพรยังเคยเป็นสถานที่จัดงานมอเตอร์โชว์ อย่างต่อเนื่องทุกปีตั้งแต่ครั้งที่ 2 เมื่อ..

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและสวนอัมพร · มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานและสวนอัมพร · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ประเทศไทย)

ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) หรือ "กรมอาชีวศึกษา" (เดิม) เป็นหนึ่งในห้าหน่วยงานหลักของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบกำกับดูแลงานการศึกษาในด้านการอาชีวศึกษา เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการการอาชีวศึกษ.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ประเทศไทย) · มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานและสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สุรเกียรติ์ เสถียรไทย

ตราจารย์พิเศษ สุรเกียรติ์ เสถียรไทย อดีตรองหัวหน้าพรรคไทยรักไทย เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคไทยรักไทย เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ สมัยรัฐบาลของทักษิณ ชินวัตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังสมัยรัฐบาลบรรหาร ศิลปอาชา และที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีสมัยพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เคยถูกเสนอชื่อเพื่อเป็น เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ในนามของ 10 ประเทศอาเซียนโดยการสนับสนุนของรัฐบาลทักษิณ รวมถึงได้รับการสนับสนุนจาก คปค.เช่นกัน แต่ก็ได้ถอนตัวในเดือนตุลาคม..

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและสุรเกียรติ์ เสถียรไทย · มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานและสุรเกียรติ์ เสถียรไทย · ดูเพิ่มเติม »

สีส้ม

ีส้ม เป็นหนึ่งในกลุ่มสีโทนร้อน แสงสีส้มที่มองเห็นได้มีความยาวคลื่นราว 590 นาโนเมตร สีเพลิง เป็น รูปลักษณ์ของสีออกคล้ายสีแสด ซึ่งมีความเข้มกว่าสีส้ม.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและสีส้ม · มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานและสีส้ม · ดูเพิ่มเติม »

สีน้ำเงิน

ีน้ำเงิน เป็นหนึ่งในแม่สี ทั้งแม่สีทางแสง และทางวัตถุธาตุ เป็นแม่สีที่มีความยาวคลื่นต่ำที่สุด แสงสีน้ำเงินมีบริเวณช่วงคลื่นระหว่าง 440-490 นาโนเมตร เป็นสีที่ใกล้เคียงกับสีฟ้าและสีกรมท่า และถือเป็น 1 ในแม่สีร่วมกับ สีแดง และสีเขียว สีน้ำเงิน เป็นสีในกลุ่มสีโทนเย็น สีน้ำเงินเป็นสีที่สร้างความสุขุมเยือกเย็น หนักแน่นและละเอียดรอบคอบ ใช้ในการสร้างแรงบันดาลใจและการแสดงออกทางศิลปะได้ดีอีกด้วย ขณะที่สีฟ้าให้ความรู้สึกแบบเดียวกับสีเขียว คือ สบายตา ให้ความรู้สึกเป็นอิสระ ปลอดโปร่ง โล่งใจ ลดความร้อนรุ่มกระวนกระวายใจลงได้.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและสีน้ำเงิน · มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานและสีน้ำเงิน · ดูเพิ่มเติม »

สีเหลือง

ีเหลือง เป็น 1 ใน 3 แม่สี ร่วมกับสีแดง และสีน้ำเงิน โดยปกติสีจะมีอยู่สองโทน คือ สีโทนร้อน และ สีโทนเย็น แต่สีเหลืองเป็นสีที่อยู่ตรงกลางระหว่าง สีโทนร้อน และ สีโทนเย็น จึงสามารถเลือกใช้สีเหลืองเข้าไปผสมผสานได้กับสีทั้งสองโทน ซึ่งนอกจากสีเหลืองแล้วยังมีสีม่วงอีกสีหนึ่งที่มีลักษณะดังกล่าว.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและสีเหลือง · มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานและสีเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

สีเผือก คนด่านเกวียน

ีเผือก คนด่านเกวียน นักร้องนำของวงคนด่านเกวียน วงดนตรีเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงวงหนึ่งของไทย มีชื่อจริงว่า อิศรา อนันตทัศน์ (ชื่อเดิม: สำรอง อนันตทัศน์) เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 ที่อำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ (ขณะนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดหนองคาย) ต่อมาเมื่อเข้าเรียนประถมศึกษาได้ย้ายมาอยู่ที่จังหวัดนครราชสีมา ต่อมาสามารถสอบเข้าเรียนวิชาช่างกลเกษตร ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานได้ แต่ทว่าเนื่องจากสถานการณ์การเมืองในเวลานั้นเป็นยุคของเผด็จการทหาร จึงได้มีโอกาสพบปะและร่วมกิจกรรมกับศิลปินหรือนักศึกษาศิลปะคนอื่น ๆ เช่น มงคล อุทก, พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ, สุรชัย จันทิมาธร และได้เข้าร่วมในเหตุการณ์ 14 ตุลา ด้วย หลังเหตุการณ์ 6 ตุลา สีเผือกสอบบรรจุครูได้ ด้วยความที่พ่อเป็นครู จึงอยากให้ลูกชายเป็นครูตามด้วย แต่ติดที่พ่อเป็นข้าราชการ ขณะที่สีเผือกมีแนวความคิดต่อต้านระบบราชการอยู่ จึงเข้าทำงานเป็นครูอยู่ตามแถบชายป่า จากนั้นจึงเข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) ในนาม "สหายครู" มีหน้าที่รับส่งเอกสาร, ส่งเสบียง, รับผิดชอบสมาชิกพรรคที่เข้าไปในเมือง พร้อมกับทำหน้าที่สอนหนังสือไปด้วย จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2526 ได้ออกอัลบั้มชุดแรกในชื่อชุด "เด็กปั๊ม" กับวงคนด่านเกวียน ประสบความสำเร็จ จนถึงปัจจุบันนี้มีผลงานอัลบั้มออกมามากกว่า 20 อัลบั้ม มีเพลงที่ได้รับความนิยมและเป็นที่รู้จัก อาทิ เด็กปั๊ม, ชาวนาอาลัย, ตาผุยชุมแพ, กุหลาบปากซัน รวมถึง เดือนเพ็ญ ที่เป็นบทกวีของอัศนี พลจันทร์ มาร้องใหม่ด้ว..

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและสีเผือก คนด่านเกวียน · มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานและสีเผือก คนด่านเกวียน · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ

้รับรางวัลโนเบลมาก แห่งหนึ่งในโลก สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ หรือ มหาวิทยาลัยรัฐ คือ สถาบันอุดมศึกษาที่ได้รับอุดหนุนงบประมาณส่วนใหญ่จากรัฐ โดยผ่านรัฐบาลกลางหรือรัฐบาลท้องถิ่น ในประเทศไทย หมายถึงสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (เดิมคือ ทบวงมหาวิทยาลัย) ประกอบด้วยทั้ง มหาวิทยาลัยจำกัดรับในระบบราชการ เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ฯลฯ มหาวิทยาลัยจำกัดรับนอกระบบราชการ (สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล) เช่น มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยไม่จำกัดรับ ได้แก่ มหาวิทยาลัยรามคำแหง และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในสหรัฐอเมริกา วิธีการสมัครเข้าเรียนใน มหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยเอกชน ไม่แตกต่างกัน สิ่งที่แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดคือค่าเรียน ชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการของกลุ่มมหาวิทยาลัยรัฐชั้นนำในสหรัฐอเมริกาคือ พับลิกไอวี โดยเปรียบเทียบกับ ไอวีลีก ซึ่งเป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยเอกชนชั้นนำ ในสหราชอาณาจักร สถาบันอุดมศึกษาเกือบทั้งหมดเป็นมหาวิทยาลัยรัฐ ยกเว้นเพียงแห่งเดียว คือมหาวิทยาลัยบัคกิ้งแฮม.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ · มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานและสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอธัญบุรี

ัญบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดปทุมธานี มีลักษณะเป็นแนวยาวขนานไปกับคลองรังสิตประยูรศักดิ์ไปจนสุดเขตจังหวัด เป็นพื้นที่ที่มีความเจริญมากกว่าอำเภอเมืองปทุมธานี เนื่องจากเป็นทางผ่านของการคนนาคมไปภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีเขตเทศบาลนคร 1 แห่ง เขตเทศบาลเมือง 2 แห่ง และเขตเทศบาลตำบลอีก 1 แห่งในพื้นที.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและอำเภอธัญบุรี · มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานและอำเภอธัญบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปทุมธานี

ังหวัดปทุมธานี (เดิมสะกดว่า ประทุมธานี) เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร เทศบาลที่ตั้งศาลากลางจังหวัด คือ เทศบาลเมืองปทุมธานี แต่เทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลนครรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอธัญบุรี.

จังหวัดปทุมธานีและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · จังหวัดปทุมธานีและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

ติ๊ก ชิโร่

ติ๊ก ชิโร่ เกิดวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2504 มีชื่อเดิมว่า ศิริศักดิ์ นันทเสน เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง ชาวไทย เคยอยู่ในวง พลอย ปัจจุบันเป็นนักร้องเดี่ยวในสังกัด แกรมมี่ โดยมีลักษณะเฉพาะตัวที่ไม่เหมือนใคร คือท่าทางการจับไมค์ ด้านชีวิตส่วนตัว สมรสกับ อ้อ พรรทิรา นันทเสน มีบุตรสาวสองคน ชาเม-ชามันดา นันทเสน และ ยาหยี-เลอทีญา นันทเสน.

ติ๊ก ชิโร่และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · ติ๊ก ชิโร่และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

13 กุมภาพันธ์

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 44 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 321 วันในปีนั้น (322 วันในปีอธิกสุรทิน).

13 กุมภาพันธ์และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · 13 กุมภาพันธ์และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

14 สิงหาคม

วันที่ 14 สิงหาคม เป็นวันที่ 226 ของปี (วันที่ 227 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 139 วันในปีนั้น.

14 สิงหาคมและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · 14 สิงหาคมและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

15 กันยายน

วันที่ 15 ก.. เป็นวันที่ 258 ของปี (วันที่ 259 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 107 วันในปีนั้น.

15 กันยายนและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · 15 กันยายนและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

15 สิงหาคม

วันที่ 15 สิงหาคม เป็นวันที่ 227 ของปี (วันที่ 228 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 138 วันในปีนั้น.

15 สิงหาคมและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · 15 สิงหาคมและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

18 มกราคม

วันที่ 18 มกราคม เป็นวันที่ 18 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 347 วันในปีนั้น (348 วันในปีอธิกสุรทิน).

18 มกราคมและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · 18 มกราคมและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

27 กุมภาพันธ์

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 58 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 307 วันในปีนั้น.

27 กุมภาพันธ์และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · 27 กุมภาพันธ์และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล มี 129 ความสัมพันธ์ขณะที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน มี 81 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 41, ดัชนี Jaccard คือ 19.52% = 41 / (129 + 81)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: