โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มหาวิทยาลัยมหิดล

ดัชนี มหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University; ชื่อย่อ: ม.มหิดล / MU) เป็นสถาบันที่มีที่มาจากการเป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

206 ความสัมพันธ์: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดลบางกอกน้อยพ.ศ. 2436พ.ศ. 2460พ.ศ. 2485พ.ศ. 2486พ.ศ. 2488พ.ศ. 2493พ.ศ. 2494พ.ศ. 2500พ.ศ. 2501พ.ศ. 2507พ.ศ. 2512พ.ศ. 2514พ.ศ. 2516พ.ศ. 2518พ.ศ. 2520พ.ศ. 2522พ.ศ. 2524พ.ศ. 2526พ.ศ. 2528พ.ศ. 2530พ.ศ. 2531พ.ศ. 2534พ.ศ. 2538พ.ศ. 2539พ.ศ. 2542พ.ศ. 2546พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555พ.ศ. 2557พ.ศ. 2558พ.ศ. 2560พญาไทพรชัย มาตังคสมบัติพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระราชวังบวรสถานพิมุขพระอัพภันตราพาธพิศาล (กำจร พลางกูร)กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครกลุ่มสถาบันการพยาบาล สถาบันพระบรมราชชนกกลุ่มนักศึกษาแพทยศาสตร์พระบรมราชชนก...กันภัยมหิดลมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรีมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตอำนาจเจริญมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติมหาวิทยาลัยอินโดนีเซียมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชมหิดลสิทธาคารมูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์มูลนิธิอานันทมหิดลยูทูบรัชตะ รัชตะนาวินราชการรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยมหิดลรางวัลรามอน แมกไซไซรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยวันมหิดลวิทยาลัยพยาบาลกองทัพบกวิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือวิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศวิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดลวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดลวิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดลวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดลวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดลวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดลวิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้าวิทยาศาสตร์ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษกศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมาศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราชศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลราชบุรีศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารีสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)สุรยุทธ์ จุลานนท์สีน้ำเงินสถาบันบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยมหิดลสถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดลสถาบันพระบรมราชชนกสถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดลสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดลสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดลสถาบันสมทบสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐสถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดลสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดลสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดลสถานีรถไฟกรุงเทพสถานีรถไฟธนบุรีสถานีรถไฟนครปฐมอรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะอักษรย่ออันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยอำเภอบางพลีอำเภอพุทธมณฑลอุดม คชินทรอุดมศึกษาผลงานการตีพิมพ์ของนักวิจัยไทยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)จังหวัดกาญจนบุรีจังหวัดราชบุรีจังหวัดสมุทรปราการจังหวัดอำนาจเจริญจังหวัดประจวบคีรีขันธ์จังหวัดนครราชสีมาจังหวัดนครศรีธรรมราชจังหวัดนครสวรรค์จังหวัดนครปฐมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยถนนพระรามที่ 6ถนนราชวิถีถนนศรีอยุธยาทำเนียบรัฐบาลไทยณัฐ ภมรประวัติคอกโครัลลีไซมอนส์คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดลคณะวิชาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดลคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดลประวัติมหาวิทยาลัยมหิดลประดิษฐ์ เจริญไทยทวีประเวศ วะสีประเทศอินโดนีเซียปิยะสกล สกลสัตยาทรแปลก พิบูลสงครามโรงพยาบาลรามาธิบดีโรงพยาบาลศิริราชโรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อนโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดลเขตบางพลัดเขตบางกอกน้อยเขตพญาไทเขตราชเทวีเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน1 สิงหาคม12 มีนาคม15 กันยายน15 สิงหาคม16 กันยายน16 สิงหาคม16 ตุลาคม16 เมษายน17 เมษายน19 กุมภาพันธ์2 กุมภาพันธ์2 มิถุนายน21 กุมภาพันธ์22 เมษายน23 มิถุนายน23 เมษายน26 มกราคม27 กุมภาพันธ์28 สิงหาคม29 กรกฎาคม3 มิถุนายน3 เมษายน30 พฤศจิกายน31 กรกฎาคม31 ธันวาคม6 เมษายน8 ธันวาคม9 ธันวาคม ขยายดัชนี (156 มากกว่า) »

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

ัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นสถานศึกษาวิชาการความรู้ในระดับที่สูงขึ้นของมหาวิทยาลัยมหิดล ผลิตนักศึกษาปริญญาเอกได้มากที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

บางกอกน้อย

งกอกน้อย อาจหมายถึง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและบางกอกน้อย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2436

ทธศักราช 2436 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1893 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2436 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2460

ทธศักราช 2460 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1917 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2460 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2485 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2486

ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2486 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2493 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2507

ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2512 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พญาไท

ญาไท อาจหมายถึง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพญาไท · ดูเพิ่มเติม »

พรชัย มาตังคสมบัติ

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ พรชัย มาตังคสมบัติ เกิดเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2483 ที่กรุงเทพมหานคร สมรสกับ ร.ดร.อรพรรณ มาตังคสมบัติ มีธิดา 2 คน คือ ทพญ.อรนาฏ มาตังคสมบัติ และ พญ.พรพรรณ มาตังคสมบัติ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ พรชัย มาตังคสมบัติ หรือ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ ดร.พรชัย มาตังคสมบัติ เป็นผู้มีความมุ่งมั่นและให้ความสำคัญต่อการพัฒนาระบบการศึกษาวิทยาศาสตร์ของประเทศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาบุคลากรสายวิทยาศาสตร์อย่างครบวงจร การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน และกระบวนการสอนวิทยาศาสตร์ระดับประเทศ รวมทั้งการสร้างเครือข่ายภายในประเทศและต่างประเทศทั้งระดับภูมิภาคและทั่วโลก เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ผู้มีวิสัยทัศน์ในการพัฒนามหาวิทยาลัย ระหว่างดำรงตำแหน่งอธิการบดี ได้ทำให้มหาวิทยาลัยมหิดลพัฒนาขึ้นเป็นอย่างมาก จึงได้รับความไว้วางใจให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีเป็นวาระที่สอง ไม่นานมานี้ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ พรชัย มาตังคสมบัติได้รับเครื่องอิสริยาภรณ์ปาล์มส์อะกาเดมิกส์ ชั้นอัศวิน (Commandeur dans l’Ordre des Palmes Academiques) ในฐานะผู้พัฒนาความร่วมมือทางวิชาการและทางวัฒนธรรมระหว่างประเทศไทยกับประเทศฝรั่งเศส ขณะเดียวกัน มหาวิทยาลัยมหิดลก็ได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณประเภทธุรกิจบริการดีเด่นกลุ่มการศึกษานานาชาติ ปี 2549 (Prime Minister’s Export Award 2006) จากนายกรัฐมนตรี เพื่อประกาศเกียรติคุณมหาวิทยาลัยในฐานะที่ได้รับความนิยมจากชาวต่างประเทศมากที่สุด ในพิธีประกาศเกียรติคุณและมอบรางวัล เมื่อวันจันทร์ที่ 28 สิงหาคม 2549 ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล นอกจากนั้น มหาวิทยาลัยมหิดลในยุคสมัยของท่านได้รับการจัดอันดับจาก สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) แห่งชาติให้เป็นมหาวิทยาลัยดีเลิศอันดับ 1 ของไทยทั้งด้านการเรียนการสอนและการวิจัย เมื่อเปรียบเทียบกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ ภายในประเทศทั้งหม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพรชัย มาตังคสมบัติ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังบวรสถานพิมุข

ระราชวังบวรสถานพิมุข หรือ วังหลัง คือ วังของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระอนุรักษ์เทเวศร์ กรมพระราชวังบวรสถานภิมุข ซึ่งทรงเป็นกรมพระราชวังบวรสถานภิมุขในรัชกาลที่ 1 สร้างขึ้นที่ตำบลสวนลิ้นจี่ ตั้งแต่เมื่อครั้งยังดำรงพระยศเป็นสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์ ถือว่าเป็นพระราชนิเวศน์เดิมของพระองค์ท่าน พื้นที่ดังกล่าวนี้มีขอบเขตทางทิศเหนือจรดกำแพงเมืองธนบุรีเดิม ทางทิศใต้จรดฉางเกลือ วังหลังนี้เป็นกำลังสำคัญที่จะป้องกันพระนครทางทิศตะวันตกฝ่ายเหนือจากการรุกรานของข้าศึก ถัดจากวังหลังลงไปเป็นตำบลสวนมังคุด ซึ่งเป็นบ้านเดิมของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยาเทพสุดาวดี ต่อไปเป็นบ้านปูนและบ้านขมิ้นตามลำดับ ครั้นกรมพระราชวังหลังทิวงคตแล้ว วังก็ถูกแบ่งออกเป็นตอน ๆ ตอนพระมนเทียรสถานเดิม เจ้าครอกทองอยู่ ที่เรียกกันทั่วไปว่า "เจ้าครอกข้างใน" ประทับอยู่ ทางตอนใต้แบ่งออกเป็น 3 วัง คือ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพระราชวังบวรสถานพิมุข · ดูเพิ่มเติม »

พระอัพภันตราพาธพิศาล (กำจร พลางกูร)

ตราจารย์ นายแพทย์ อำมาตย์ตรี พระอัพภันตราพาธพิศาล (กำจร พลางกูร) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เป็นแพทย์ชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งสำคัญของการศึกษาทางการแพทย์โดยดำรงตำแหน่งคณบดีคณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมาชิกวุฒิสภา และอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิและรักษาการหัวหน้าแผนกอิสระเภสัชกรรมศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กำจร พลางกูร เกิดในกรุงเทพมหานคร เริ่มต้นศึกษาระดับมัธยมศึกษา ณ โรงเรียนเทพศิรินทร์ จากนั้นได้ทุนเล่าเรียนหลวงไปศึกษาต่อทางการแพทย์ เป็นสมาชิกของราชวิทยาลัยการศัลยกรรมประเทศอังกฤษและสำเร็จการศึกษาจากราชวิทยาลัยการแพทย์ประเทศอังกฤษ ภายหลังสำเร้จการศึกษาแล้ว กำจรเข้าดำรงตำแหน่งอาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เริ่มสอนในวิชาชีวเคมีเมื่อปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและพระอัพภันตราพาธพิศาล (กำจร พลางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)

กระทรวงสาธารณสุข (Ministry of Public Health) เป็นหน่วยงานราชการไทย ประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพอนามัย การป้องกัน ควบคุม และรักษาโรคภัย การฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชน และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุขหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขปัจจุบันตั้งอยู่ที่ ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและกระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มสถาบันการพยาบาล สถาบันพระบรมราชชนก

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี เป็นวิทยาลัยพยาบาลในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ โดยในปี พ.ศ. 2537 สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อให้วิทยาลัยพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ทั้งที่เปิดดำเนินการอยู่ก่อนแล้ว และที่จะเปิดใหม่ภายหลังว่า "วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี" โดยมีวิทยาลัยพยาบาลที่ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อใหม่ จำนวน 28 แห่ง ได้แก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและกลุ่มสถาบันการพยาบาล สถาบันพระบรมราชชนก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มนักศึกษาแพทยศาสตร์พระบรมราชชนก

กลุ่มนักศึกษาแพทยศาสตร์พระบรมราชชนก หรือ ชื่ออย่างเป็นทางการคือ "นักศึกษาแพทย์ โครงการผลิตแพทย์เพื่อชาวชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล" เป็นโครงการที่ริเริ่มจัดตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและกลุ่มนักศึกษาแพทยศาสตร์พระบรมราชชนก · ดูเพิ่มเติม »

กันภัยมหิดล

กันภัยมหิดล หรือ กันภัย เป็นชื่อไม้เถาชนิด Afgekia mahidolae Burtt et Chermsir.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและกันภัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัย (University) หมายถึง สถานศึกษาที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาทั้งในด้านวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงหลากหลายสาขาวิชา เพื่อให้ประกาศนียบัตร อนุปริญญา หรือปริญญา แก่ผู้สำเร็จการศึกษาในหลายระดับรวมถึง ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก รวมทั้งการทำการวิจัยและให้บริการทางวิชาการแก่สังคม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและมหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี

มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี เป็นส่วนงานระดับคณะ สังกัดมหาวิทยาลัยมหิดล ได้ยกฐานะขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ซึ่งผลิตบัณฑิตในหลายสาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิทยาศาสตร์, สาขาบริหารธุรกิจ, สาขาบัญชี และสาขาวิศวกรรมศาสตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตอำนาจเจริญ

มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตอำนาจเจริญ (Mahidol University, Amnat Charoen Campus; ชื่อย่อ: ม.มหิดล อำนาจเจริญ / AC-MU) เป็นโครงการจัดตั้งวิทยาเขตในสังกัดมหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งอยู่ที่ถนนชยางกูร ตำบลโนนหนามแท่ง อำเภอเมืองอำนาจเจริญ จังหวัดอำนาจเจริญ ไฟล์:มหาวิทยาลัยมหิดลอำนาจเจิญ.jpg|ป้ายมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตอำนาจเจริญ ไฟล์:มหาวิทยาลัยแห่งท้องถิ่น.jpg|อาคารเรียนรวมมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตอำนาจเจริญ ไฟล์:มหิดลอำนาจ2.jpg|กลุ่มอาคารเรียนมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตอำนาจเจริญ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตอำนาจเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ

มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ หรือ โครงการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ วันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอินโดนีเซีย

ตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอินโดนีเซีย (Universitas Indonesia) เป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ใจกลางกรุงเดป๊อคและจาการ์ตา จัดตั้งโดยรัฐบาลอาณานิคมของเนเธอร์แลนด์ และถือว่าเป็นรากฐานของการพัฒนาการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของอินโดนีเซียปัจจุบัน ทำให้มหาวิทยาลัยอินโดนีเซียเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในอินโดนีเซีย จากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกของคอกโครัลลีไซมอนส์ มหาวิทยาลัยอินโดนีเซียอยู่ในอันดับที่ 358 ของโลก และอันดับที่ 1 ของอินโดนีเซี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและมหาวิทยาลัยอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช

มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช (Navamindradhiraj University) เดิมชื่อ มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของกรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นวันที่ 13 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช · ดูเพิ่มเติม »

มหิดลสิทธาคาร

ริเวณด้านข้างของมหิดลสิทธาคาร มหิดลสิทธาคาร เป็นคอนเสิร์ตฮอลล์และหอประชุมใหญ่ของมหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิด เมื่อวันที่ 17 เมษายน 2557 โดยสามารถใช้เป็นหอแสดงดนตรี โรงละคร หอประชุม และสถานที่ประกอบพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัย มหิดลสิทธาคาร เป็นอาคารหอประชุมอเนกประสงค์ มีพื้นที่ใช้สอย 26,470 ตารางเมตร ความจุ 2,016 ที่นั่ง ใช้งบประมาณก่อสร้าง 1,450 ล้านบาท ออกแบบโดยใช้แนวคิดโครงสร้างเชิงกายภาพของมนุษย์ โดยใช้ดอกกันภัยมหิดลเป็นต้นแบบ หลังคามี 2 ชั้น ชั้นในใช้วัสดุพิเศษเพื่อป้องกันเสียงจากภายนอก ส่วนหลังคาชั้นนอกใช้วัสดุทองแดง การวางระบบวิศวกรรมสวนศาสตร์ (Acoustical engineering) ของมหิดลสิทธาคารนับได้ว่าดีที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและมหิดลสิทธาคาร · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์

มูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์ (Rockefeller Foundation) เป็นองค์กรวิจัยเกี่ยวกับด้านวิทยาศาสตร์ตั้งอยู่ที่นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งโดย จอห์น ดี ร็อกกี้เฟลเลอร์ ในปี พ.ศ. 2456 มีการให้การสนับสนุนการวิจัยในด้านการแพทย์ทั่วโลกRockfound.org, มูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์เป็นมูลนิธิที่มุ่งเน้นเรื่องแหล่งพลังงานทั้งห้า ได้แก่ 1.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและมูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิอานันทมหิดล

ตราสัญลักษณ์ มูลนิธิอานันทมหิดล (Anandamahidol Foundation) เป็นมูลนิธิที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งขึ้น เพื่อมุ่งส่งเสริมสนับสนุนนักศึกษาและบัณฑิตชาวไทยที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการสาขาต่าง ๆ ให้ได้รับโอกาสไปศึกษาต่อเพิ่มเติม ณ ต่างประเทศ ในระดับที่สูงขึ้น เพื่อให้เป็นบุคคลชั้นนำของประเทศในสาขาวิชานั้น ๆ และนำความรู้ความเชี่ยวชาญกลับมารับใช้ประเทศชาติต่อไปหลังจากสำเร็จการศึกษาระดับสูงสุดแล้ว ในระยะแรก ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จัดตั้งทุนอานันทมหิดล และทรงเริ่มพระราชทานทุนในสาขาแพทยศาสตร์เป็นสาขาแรก ต่อมา ได้มีพระบรมราชวินิจฉัยให้เปลี่ยนสถานภาพจากทุนเป็นมูลนิธิ ชื่อ มูลนิธิอานันทมหิดล และได้ขยายขอบเขตการพระราชทานทุนเพิ่มขึ้นในหลายสาขา ครอบคลุมทั้งสาขาวิชาทางด้านวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ ชมรมผู้รับพระราชทานทุนอานันทมหิดล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและมูลนิธิอานันทมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

ยูทูบ

ูทูบ ตามสำเนียงอเมริกัน หรือ ยูทิวบ์ ตามสำเนียงบริเตน (YouTube) เป็นเว็บไซต์เผยแพร่วิดีโอโดยมีสำนักงานอยู่ที่แซนบรูโน แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เว็ปไซต์ดังกล่าวถูกสร้างขึ้นมาจากอดีตพนักงาน 3 คนในบริษัทเพย์แพล อันประกอบด้วยแชด เฮอร์ลีย์ สตีฟ เชน และยาวีด คาริม ในเดือนกุมภาพันธ์ 2548 ในเดือนพฤศจิกายน 2549 ยูทูบถูกกูเกิลซื้อไปในราคา 1.65 พันล้านเหรียญสหรัฐ ยูทูบเป็นหนึ่งในบริษัทย่อยของกูเกิล เว็บไซต์ยังสามารถให้ผู้ใช้งานสามารถอัปโหลด ดู หรือแบ่งปันวิดีโอได้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและยูทูบ · ดูเพิ่มเติม »

รัชตะ รัชตะนาวิน

ตราจารย์ นายแพทย์ รัชตะ รัชตะนาวิน (13 สิงหาคม พ.ศ. 2493 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขและประธานกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและรัชตะ รัชตะนาวิน · ดูเพิ่มเติม »

ราชการ

ราชการ (สำหรับประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข) หรือ รัฐการ (สำหรับประเทศที่ไม่ได้มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข) เป็นระบบการทำงานอย่างหนึ่งของรัฐ หมายถึง การงานของพระมหากษัตริย์หรือรัฐบาล รวมไปถึงของทหารและตำรวจซึ่งอาจเรียกแยกเฉพาะว่า "ราชการฝ่ายทหาร" หรือ "รัฐการฝ่ายทหาร" แล้วแต่กรณี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและราชการ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยมหิดล

150px รายชื่อบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลรามอน แมกไซไซ

รางวัลรามอน แมกไซไซ หรือ รางวัลแมกไซไซ (Ramon Magsaysay Award) เป็นรางวัลที่ก่อตั้งขึ้น เมื่อเดือนเมษายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและรางวัลรามอน แมกไซไซ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล

หรียญรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล เป็นรางวัลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้จัดตั้งขึ้นเพื่อถวายเป็นพระราชานุสรณ์แด่สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ผู้ทรงบำเพ็ญประโยชน์ต่อวงการแพทย์ การสาธารณสุข การพยาบาล การเภสัชกรรม ทันตศึกษา การประมง กองทัพเรือ และการศึกษาของประเทศ เป็นคุณูปการโดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับการแพทย์ของประเทศไทย ทรงทำนุบำรุงโรงเรียนราชแพทยาลัย และโรงพยาบาลศิริราชให้ทันสมัย ทั้งทรงเป็นผู้แทนรัฐบาลไทย ในการเจรจากับมูลนิธิร็อกกี้เฟลเล่อร์ ให้มาช่วยเหลือปรับปรุงการแพทย์ของไทย เป็นการวางรากฐานให้การแพทย์ของไทย เจริญรุ่งเรืองทัดเทียมอารยประเทศในปัจจุบัน จนได้รับการถวายพระสมัญญานามว่า องค์บิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันของไทย และองค์บิดาแห่งการสาธารณสุขของไทย เป็นการสนองพระมหากรุณาธิคุณให้พระเกียรติยืนยง อยู่ในแผ่นดินนี้และแผ่ขจรขจายไปทั่วโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย

รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น เป็นรางวัลเพื่อเชิดชูเกียรตินักวิทยาศาสตร์ไทยที่มีผลงานดีเด่น โดยจะประกาศรางวัลในต้นเดือนสิงหาคมของทุกปี และมอบรางวัลในวันที่ 18 สิงหาคม ซึ่งเป็น "วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ" โดยถือเป็นที่ยอมรับในวงการวิชาการว่ารางวัลนี้เป็นรางวัลสูงสุดของประเทศสำหรับนักวิทยาศาสตร์พื้นฐานและนักวิทยาศาสตร์ประยุกต์ โดยมีรางวัลเป็นโล่พระราชทานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และเงินรางวัล 200,000-400,000 บาท พระราชทานโดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวันที่ 18 สิงหาคม ของทุกปี ซึ่งเป็น "วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ" ที่งานมหกรรมวิทยาศาสตร์แห่งชาติพร้อมกันกับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ รางวัลนี้สนับสนุนโดย มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ สวท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย · ดูเพิ่มเติม »

วันมหิดล

งที่ระลึกวันมหิดล วันมหิดล ตรงกับวันที่ 24 กันยายนของทุกปี อันเป็นวันคล้ายวันสวรรคตของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกเป็นพระราชบิดาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชหรือพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จพระราชดำเนินทรงวางพวงมาลาณ.พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกภายในโรงพยาบาลศิริราชแขวงศิริราชเขตบางกอกน้อยกรุงเทพมหานคร ที่เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดเมื่อวันที่ 27 เมษายนพ.ศ. 2493.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและวันมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก

วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก เป็นหน่วยงานที่ขึ้นตรงต่อศูนย์อำนวยการแพทย์พระมงกุฎเกล้าฯ กรมแพทย์ทหารบก และเป็นสถาบันสมทบของ มหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและวิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ

วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ สังกัดกองการศึกษา กรมแพทย์ทหารเรือ กระทรวงกลาโหม โดยเป็นสถาบันสมทบของ มหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและวิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ

วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ (อังกฤษ: Royal Thai Air Force Nursing College) เป็นสถาบันการศึกษาในสังกัดกรมแพทย์ทหารอากาศ กองทัพอากาศ มีหน้าที่ผลิตบุคลากรทางด้านพยาบาลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม มีความรู้ความสามารถที่จะทำหน้าที่พยาบาล โดยเป็น สถาบันสมทบ ของ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษาจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ระดับ สถาบัน เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2550 โดยมีวิสัยทัศน์ "เป็นสถาบันชั้นนำระดับชาติ ในการผลิตบัณฑิตพยาบาลคุณภาพ มีคุณธรรมนำความรู้ มีคุณลักษณะทางทหารและพยาบาลเวชศาสตร์การบิน ให้บริการพยาบาลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์" มีหน้าที่ ดำเนินการเกี่ยวกับการผลิตบุคลากรทางการพยาบาล มีผู้อำนวยการวิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ เป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและวิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล

วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นผลมาจากการประชุมวิชาการเรื่อง "โครงการบริหารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี" เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 และเรื่อง "บัณฑิตศึกษาเชิงสหวิทยาการ" ซึ่งจัดขึ้นโดยบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อวันที่ 12-13 กันยายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและวิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล

วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นสถาบันอุดมศึกษาสำหรับผู้พิการ ตั้งอยู่ภายในบริเวณมหาวิทยาลัยมหิดล ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยพระมหากรุณาธิคุณ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์

วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ส่วนงานหนึ่งของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ มีหน้าที่จัดการศึกษาทางด้าน แพทยศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ สาธารณสุขศาสตร์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ ทําการวิจัย และสนับสนุนให้ทําการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ในเรื่องดังกล่าว และให้บริการในการบําบัดรักษาผู้ป่ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและวิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล

วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นสถาบันการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา และ เวชศาสตร์การกีฬา แห่งแรกและชั้นนำของประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตและวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา และยังเป็นศูนย์บริการกีฬาเพื่อสุขภาพแก่ประชาชนทั่วไป.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล

วิทยาลัยศาสนศึกษา (College of Religious Studies) เป็นหน่วยงานในสังกัด มหาวิทยาลัยมหิดล ที่จัดการศึกษาระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ปัจจุบันวิทยาลัยมี รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ธันย์ สุภัทรพันธุ์ ดำรงตำแหน่ง รักษาการคณบดีวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นวิทยาลัยดนตรีมีฐานะเทียบเท่าคณะหนึ่ง ในกำกับของมหาวิทยาลัยมหิดล เปิดสอนวิชาเกี่ยวกับดนตรีโดยเฉพาะ ตั้งแต่ระดับเตรียมอุดมดนตรี (ม. 4 - ม. 6) จนถึงระดับปริญญาเอก โดยเป็นสถาบันเดียวในประเทศที่เปิดสอนวิชาดนตรีในระดับปริญญาเอก มีอาจารย์ที่ชำนาญในเครื่องดนตรีแต่ละชนิดโดยเฉพาะ เป็นสถาบันเดียวในประเทศที่เปิดสอนทั้งด้านแนวเพลงไทยและแนวเพลงสากล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดลเป็นวิทยาลัยนานาชาติของมหาวิทยาลัยรัฐแห่งแรกของประเทศไทย มีผู้จบการศึกษารุ่นแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า

วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า เป็นสถาบันผลิตแพทย์ทหารแห่งเดียวในประเทศไทย ก่อตั้งเป็นสถาบันแพทยศาสตร์ลำดับที่ 7 ของประเทศ จากกระแสพระบรมราโชวาทของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ โดยดำเนินงานร่วมกับโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า กรมแพทย์ทหารบก และดำรงสถานะสถาบันสมทบของ มหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและวิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ คำว่า "วิทยาศาสตร์" มักถูกใช้เพื่อแทนคำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษ แต่ถ้าจะกล่าวให้ตรงความหมายแล้ว เราใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์" เพื่อหมายถึง "Exact science" ซึ่งไม่รวมสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์เอาไว้ แม้ว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน การแบ่งแยกดังกล่าวมีขึ้นเนื่องจากความแตกต่างในด้านเนื้อหาและธรรมชาติของการศึกษา มิใช่เรื่องของความจริงหรือความถูกต้องแต่อย่างใด คำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษจะมีความหมายเทียบเท่ากับคำว่า "ศาสตร์" หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก

ูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก เป็นโรงพยาบาลของรัฐ สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งอยู่ ณ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เป็นโรงพยาบาลลำดับที่ 4 นับลำดับจากโรงพยาบาลในสังกัดจำนวน 3 แห่งคือ โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลรามาธิบดี และโรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา

ูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา เป็นศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก สังกัดโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเป็นสถาบันผลิตแพทย์กับสถาบันพระบรมราชชนก สถาบันสมทบของมหาวิทยาลัยมหิดล โดยก่อตั้งเมื่อปีพุทธศักราช 2538 ณ อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช

ูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช เป็นศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก สังกัดโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเป็นสถาบันร่วมผลิตแพทย์ของสถาบันพระบรมราชชนก สถาบันสมทบของมหาวิทยาลัยมหิดล โดยก่อตั้งเมื่อปีพุทธศักราช 2537 ณ อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลราชบุรี

ูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลราชบุรี เป็นศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก สังกัดโรงพยาบาลราชบุรี กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเป็นสถาบันร่วมผลิตแพทย์ของสถาบันพระบรมราชชนก สถาบันสมทบของมหาวิทยาลัยมหิดล ณ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลราชบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์

ูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ เป็นศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก สังกัดโรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเป็นสถาบันร่วมผลิตแพทย์ของสถาบันพระบรมราชชนก สถาบันสมทบของมหาวิทยาลัยมหิดล ณ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

มหาอำมาตย์ตรี พันเอกพิเศษ จอมพลเรือ นายกองเอกเสือป่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (1 มกราคม พ.ศ. 2435 – 24 กันยายน พ.ศ. 2472) เป็นพระบรมราชชนกในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระอัยกาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า มีพระเชษฐาและพระเชษฐภคินีที่ประสูติร่วมพระราชมารดา 7 พระองค์ พระองค์มีคุณูปการแก่กิจการแพทย์แผนปัจจุบันและการสาธารณสุขของประเทศไทยประชาชนโดยทั่วไปคุ้นเคยกับพระนามว่า "กรมหลวงสงขลานครินทร์" หรือ "พระราชบิดา" และบางครั้งก็ปรากฏพระนามว่า "เจ้าฟ้าทหารเรือ" และ "พระประทีปแห่งการอนุรักษ์สัตว์น้ำของไทย" ส่วนชาวต่างประเทศเรียกพระนามว่า "เจ้าฟ้ามหิดล" หลังพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พระองค์ทรงพระประชวรต้องประทับในพระตำหนักวังสระปทุม และสวรรคตเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 เวลา 16.45 น. ด้วยพระโรคฝีบิดในพระยกนะ(ตับ) โดยมีโรคแทรกซ้อนคือพระปัปผาสะบวมน้ำและพระหทัยวาย พระชนมายุได้ 37 พรรษา 8 เดือน 23 วัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ันเอกหญิง สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง พลตำรวจเอกหญิง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พระนามเดิม: สังวาลย์ ตะละภัฏ; พระราชสมภพ: 21 ตุลาคม พ.ศ. 2443 ณ จังหวัดนนทบุรี — สวรรคต: 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 ณ กรุงเทพมหานคร) เป็นพระชายาในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์, พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระอัยยิกาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร พระองค์มีพระนามที่นิยมเรียกกันว่า สมเด็จย่า ทั้งนี้พระองค์ยังได้ประกอบพระราชกรณียกิจเยี่ยมราษฎรชาวไทยภูเขาที่อาศัยในถิ่นทุรกันดาร และได้พระราชทานความช่วยเหลือผ่านทางเฮลิคอปเตอร์พระที่นั่ง เปรียบเสมือนพระองค์เสด็จมาจากฟากฟ้าช่วยให้พวกเขามีวิถีชีวิตที่ดีขึ้น ชาวไทยภูเขาจึงถวายพระสมัญญานามว่า "แม่ฟ้าหลวง"มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2475) เป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และโดยพระชนมายุจึงนับเป็นพระกุลเชษฐ์พระองค์ปัจจุบันในพระบรมราชจักรีวงศ์ เนื่องจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ขณะที่พระราชสวามีเสด็จออกผนวช ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2499 - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 73, ตอน 76ก, 25 กันยายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน ฉบับกาญจนาภิเษก,; สิ้นพระชนม์: 2 มกราคม พ.ศ. 2551 โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (หม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา) เป็นสมเด็จพระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นสมเด็จพระราชปิตุจฉาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีโครงการในพระอุปถัมภ์หลายร้อยโครงการ ทั้งด้านการศึกษา การสังคมสงเคราะห์ การแพทย์และการสาธารณสุข การต่างประเทศ การศาสนา และอื่น ๆ กับทั้งยังมีพระปรีชาสามารถด้านการเขียน ด้านการกีฬา และด้านการถ่ายภาพ พระองค์มีพระอาการผิดปกติเกี่ยวกับพระนาภี และได้เข้าประทับรักษาพระอาการประชวร ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช จนกระทั่งวันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551 พระอาการประชวรได้ทรุดลงตามลำดับ และสิ้นพระชนม์เมื่อเวลา 02:54 นาฬิกา สิริพระชนมายุ 84 พรรษ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500) พระราชธิดาพระองค์เล็กในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระขนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน ในพระราชวังดุสิตสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี มีพระธิดา 2 พระองค์ คือ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ พระองค์ทรงเป็นเจ้าฟ้านักวิทยาศาสตร์ผู้มีผลงานดีเด่นของโลกในสาขาสารเคมีก่อมะเร็ง และพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม ทรงก่อตั้งสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ขึ้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระโสทรกนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว. หรือ TRF) เป็นองค์การมหาชน ประเภทจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติเฉพาะ ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)

ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา: สกอ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สุรยุทธ์ จุลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ก่อนเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พล.อ.สุรยุทธ์เคยดำรงตำแหน่ง ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และองคมนตรี ในปลายเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 นายอารีย์ วงศ์อารยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้ลาออกจากตำแหน่ง พล.อ.สุรยุทธ์ ได้เข้าดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย แทนนายอารีย์อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย 8 เมษายน พ.ศ. 2551 พล.อ.สุรยุทธ์ ได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ จาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้กลับดำรงตำแหน่ง องคมนตรี เป็นครั้งที่สอง พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ มีฉายาว่า "บิ๊กแอ้ด" วันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสุรยุทธ์ จุลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สีน้ำเงิน

ีน้ำเงิน เป็นหนึ่งในแม่สี ทั้งแม่สีทางแสง และทางวัตถุธาตุ เป็นแม่สีที่มีความยาวคลื่นต่ำที่สุด แสงสีน้ำเงินมีบริเวณช่วงคลื่นระหว่าง 440-490 นาโนเมตร เป็นสีที่ใกล้เคียงกับสีฟ้าและสีกรมท่า และถือเป็น 1 ในแม่สีร่วมกับ สีแดง และสีเขียว สีน้ำเงิน เป็นสีในกลุ่มสีโทนเย็น สีน้ำเงินเป็นสีที่สร้างความสุขุมเยือกเย็น หนักแน่นและละเอียดรอบคอบ ใช้ในการสร้างแรงบันดาลใจและการแสดงออกทางศิลปะได้ดีอีกด้วย ขณะที่สีฟ้าให้ความรู้สึกแบบเดียวกับสีเขียว คือ สบายตา ให้ความรู้สึกเป็นอิสระ ปลอดโปร่ง โล่งใจ ลดความร้อนรุ่มกระวนกระวายใจลงได้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสีน้ำเงิน · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยมหิดล

ันบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยมหิดล (Institute for Technology and Innovation Management: INNOTECH) เป็นส่วนงานของมหาวิทยาลัยมหิดล จัดตั้งขึ้นเพื่อให้บริการจัดการองค์ความรู้ งานวิจัย และนวัตกรรมที่มีอยู่ภายในมหาวิทยาลัยไปสู่การใช้ประโยชน์ในภาคอุตสาหกรรมและสังคม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสถาบันบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล

ันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล มีฐานะเทียบเท่าคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยมหิดล เป็นสถาบันวิจัยที่มีความเป็นเลิศด้านการวิจัย ทางด้านชีววิทยาศาสตร์ระดับโมเลกุล และสนับสนุนภารกิจหลักด้านการวิจัย การจัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา การบริการวิชาการสู่สังคม ปัจจุบันจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตและมหาบัณฑิต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันพระบรมราชชนก

ันพระบรมราชชนก เป็นสถาบันที่ผลิตบุคลากรด้านการสาธารณสุข สังกัดกระทรวงสาธารณสุข สืบสานพระปณิธานของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระบิดาแห่งการแพทย์และสาธารณสุขไทย และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระมารดาแห่งการสาธารณสุข ก่อตั้งขึ้นโดยการรวมองค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตบุคลากรด้านการสาธารณสุขเข้าด้วยกัน เพื่อเอกภาพด้านนโยบาย การวางแผนการดำเนินงาน เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2536 ได้มีพระราชกฤษฏีกาแบ่งส่วนราชการสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ให้จัดตั้งเป็น "สถาบันพัฒนากำลังคนด้านสาธารณสุข" ดูแลงานด้านการผลิตและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสถาบันพระบรมราชชนก · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล

ันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นส่วนงานระดับคณะของมหาวิทยาลัย ทำหน้าที่วิจัย พัฒนาสาธารณสุขมูลฐานของประเทศไทยและอาเซียน อีกทั้งยังเป็นสถาบันที่ให้การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาอีกด้ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล

ันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นหน่วยงานที่มีฐานะเทียบเท่าคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบันจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตและมหาบัณฑิต รวมจำนวน 5 หลักสูตร และจัดการวิจัย บริการวิชาการ ทำนุบำรุงและพัฒนาด้านภาษา วัฒนธรรมและกลุ่มชาติพัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์

ันวิจัยจุฬาภรณ์ เป็นสถาบันอิสระภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงศึกษาธิการ มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนงานในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยการสนับสนุนด้านการวิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทั้งในด้านทุนวิจัย สนับสนุนอุปกรณ์เครื่องมือศึกษาวิจัยที่ทันสมัยรวมทั้งนักวิทยาศาสตร์และวิศวกรที่มีคุณภาพ สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2530 โดยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี รับผิดชอบการดำเนินงานโดยมูลนิธิจุฬาภรณ์ เดิมอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของทบวงมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2559 ราชกิจจานุเบกษา ได้ลงประกาศ พระราชบัญญัติราชวิทยาลัยจุฬาภรณ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล

ันวิจัยประชากรและสังคม (วปส.) มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นสถาบันชั้นนำที่มีชื่อเสียงในระดับชาติและนานาชาติ ด้านการวิจัยและการศึกษา มุ่งเน้นการวิจัยในรูปแบบสหสาขาวิชาที่บูรณาการทั้งด้านประชากรศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ และสาขาวิชาที่เกี่ยวเนื่องกับประชากร เปิดสอนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาทางด้านประชากรศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่รวมถึง การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางประชากร การฉายภาพประชากร อนามัยเจริญพันธุ์ ผู้สูงอายุ และการย้ายถิ่น .

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันสมทบ

ันสมทบ (Affiliated Institutes) คือ สถาบันการศึกษาชั้นสูงหรือสถาบันวิจัยที่เข้าสมทบในมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจาก คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ยุบสถาบันการศึกษาที่อยู่นอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ดำเนินการสอนวิชาที่มีการสอนอยู่ในความควบคุมของกระทรวงศึกษาธิการ และให้สถาบันการศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ รับสถานศึกษาดังกล่าวเข้าสมทบในมหาวิทยาลัย โดยสถาบันสมทบที่สังกัดมหาวิทยาลัยต่าง ๆ มีดังนี้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสถาบันสมทบ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ

ันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ (national university) หรือที่เรียกว่า มหาวิทยาลัยนอกระบบ คือสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่มีการบริหารการจัดการอิสระแยกจากระบบราชการ (autonomous university) แต่ยังได้รับเงินอุดหนุนทั่วไป (block grant) ที่รัฐจัดสรรให้เป็นรายปีโดยตรง เพื่อใช้จ่ายตามความจำเป็นในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย และเพื่อประกันคุณภาพการศึกษ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล

ันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้จัดตั้งขึ้นในชื่อสถาบันนวัตกรรมและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2545 ตามมติของสภามหาวิทยาลัยมหิดล โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับพระราช บัญญัติการศึกษาแห่งชาต..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล

ันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล มีฐานะเทียบเท่าคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยมหิดล เป็น “สถาบันแห่งชาติ” ด้านการพัฒนาเด็กและครอบครัวหนึ่งเดียวของประเทศ เน้นการมีส่วนร่วมของเด็ก เยาวชน และครอบครัว ทั้งในกระบวนการวิจัย พัฒนา และขับเคลื่อนองค์ความรู้ งานวิจัยบนพื้นฐานของสังคมไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล

ันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นหน่วยงานที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟกรุงเทพ

นอกสถานีรถไฟกรุงเทพ ภายในสถานีรถไฟกรุงเทพ สถานีรถไฟกรุงเทพ หรือที่นิยมเรียกกันว่า สถานีรถไฟหัวลำโพง เป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย และเป็นสถานีที่เก่าแก่ที่สุด สร้างในสมัย รัชกาลที่ 5 ในปี พ.ศ. 2453 สร้างเสร็จและเริ่มใช้งาน วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2459 ในปัจจุบันสถานีรถไฟหัวลำโพง มีทางเชื่อมต่อที่มีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่ดูกลมกลืนกับรถไฟฟ้ามหานครหรือรถไฟฟ้าใต้ดินบริเวณถนนพระรามที่ 4 การก่อสร้างสถานีกรุงเทพ ก่อสร้างในลักษณะโดมสไตล์อิตาเลียนผสมกับศิลปะแบบเรอเนสซองซ์ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับสถานีรถไฟแฟรงก์เฟิร์ตในประเทศเยอรมนี การประดับหลัก ประดับด้วยหินอ่อนและเพดานมีการสลักลายนูนต่าง ๆ โดยมีนาฬิกาขนาดใหญ่ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 160 เซนติเมตร ตั้งอยู่กลางสถานีรถไฟเป็นสัญลักษณ์แห่งหนึ่ง สถานีกรุงเทพ มีรถไฟประมาณ 200 ขบวนต่อวัน โดยมีผู้โดยสารหลายหมื่นคน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2561) โดยเฉพาะช่วงวันสำคัญ เช่น วันขึ้นปีใหม่ วันสงกรานต์ จะมีผู้โดยสารเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสถานีรถไฟกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟธนบุรี

ัญญาหางปลาที่สถานี ดูเพิ่มที่ สถานีรถไฟธนบุรี (แก้ความกำกวม) สถานีรถไฟธนบุรี หรือเดิมเรียกว่า สถานีรถไฟบางกอกน้อย ตั้งอยู่บนถนนรถไฟ แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร บริเวณตลาดรถไฟ (แห่งใหม่) มีความสำคัญในฐานะเป็นสถานีต้นทางของรถไฟสายใต้ และสายตะวันตก สถานีรถไฟบางกอกน้อย เปิดเมื่อ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2446 โดยมีสถานีต้นทางอยู่สถานีรถไฟบางกอกน้อย ปลายทางไปที่สถานีรถไฟเพชรบุรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสถานีรถไฟธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟนครปฐม

นีรถไฟนครปฐม ตั้งอยู่ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและสถานีรถไฟนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นายกราชบัณฑิตยสถาน และ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล เป็นนายแพทย์ผู้เชี่ยวชาญระบบประสาทและระบบสมองของไทย บิดาของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และนายกรัฐมนตรี คนที่ 27 ของประเทศไท.น.อรรถสิทธิ์ เกิดวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478 เป็นบุตรคนที่ 7 ในจำนวน 10 คนของนายโฆสิต เวชชาชีวะ น้องชายของพระบำราศนราดูร (หลง เวชชาชีวะ) อดีตปลัดกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข มีพี่ชายคือนายนิสสัย เวชชาชีวะ อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ที่เป็นบิดาของนายสุรนันท์ เวชชาชีวะ นักการเมืองพรรคไทยรักไทย และเป็นพี่ชายของนายวิทยา เวชชาชีวะ ที่เป็นอดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศเช่นกัน ระหว่างเป็นคณบดีคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล น.อรรถสิทธิ์ เป็นผู้ริเริ่มโครงการศูนย์วินิจฉัยก้าวหน้าและรังสีร่วมรักษา (AIMC) เป็นโครงการนำร่องของการบริหารงานภายใต้การกำกับดูแลของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สังกัดศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ มีระบบบริหารจัดการแบบพิเศษ โดยมูลนิธิรามาธิบดี เพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพสูง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและอรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรย่อ

อักษรย่อ หรือ คำย่อ หรือ รัสพจน์ เป็นการนำอักษรบางตัวในคำหนึ่งๆ ใช้เรียกแทนคำเต็ม โดยมากจะเป็นพยัญชนะ อาจใส่จุดหรือไม่ใส่หลังอักษรนั้นๆ นิยมนำอักษรต้นพยางค์ แต่บางครั้งก็มีการใช้อักษรท้ายพยางค์ก็มี และบางครั้งอักษรย่อก็สามารถอ่านได้เป็นพยางค์ใหม่ ในภาษาไทย เมื่ออักษรย่อมีตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป จะใส่จุดที่ตัวสุดท้ายเพียงจุดเดียว (ไม่ใส่ทีละอักษร) ยกเว้นบางตัวที่เคยมีใช้กันมาก่อนจนเป็นที่ยอมรับแล้ว เช่น น..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและอักษรย่อ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยในที่นี้ เป็นการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทยโดยหน่วยงานของไทยเอง และนิตยสารของต่างประเทศ สำหรับหน่วยงานของไทย ในปี พ.ศ. 2549 นี้ ทางกระทรวงศึกษาธิการได้จัดให้มีการจัดลำดับมหาวิทยาลัยรัฐในประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดย 2 หน่วยงาน คือ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) สำหรับในต่างประเทศได้มีการจัดทำอันดับมหาวิทยาลัยทั่วโลกจากทั้ง นิตยสารไทมส์ไฮเออร์เอดูเคชันซัปพลีเมนต์ นิตยสารเอเชียวีก บริษัท แควกเควเรลลี ไซมอนด์ส จำกัด, CWTS, CWUR ฯลฯ รวมทั้งการจัดอันดับความเป็นอิเล็กทรอนิกส์และการเข้าถึงเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยจากเว็บไซต์เว็บโอเมตริกซ์ โดยมหาวิทยาลัยในประเทศไทยบางส่วนได้ถูกเสนอชื่อเข้าไปในนั้น ในขณะที่บางลำดับเช่นจาก มหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้เจียวถง ไม่มีรายชื่อมหาวิทยาลัยในประเทศไทยแต่อย่างใ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางพลี

งพลี เป็นอำเภอที่มีพื้นที่มากที่สุดในจังหวัดสมุทรปราการ เป็นที่ตั้งของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ที่ตั้งของโครงการสร้างศูนย์ที่พักอาศัยสำหรับผู้สูงอายุแบบครบวงจร และเป็นที่ตั้งของสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลทางเข้าวัดบัวโร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและอำเภอบางพลี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพุทธมณฑล

อำเภอพุทธมณฑล เป็นอำเภอที่ตั้งขึ้นใหม่ที่สุดและมีพื้นที่น้อยที่สุดในจังหวัดนครปฐม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและอำเภอพุทธมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

อุดม คชินทร

ตราจารย์คลินิก นายแพทย์ อุดม คชินทร (17 สิงหาคม พ.ศ. 2497 -) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล อดีตคณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและอุดม คชินทร · ดูเพิ่มเติม »

อุดมศึกษา

อุดมศึกษา หมายถึง ระดับการศึกษารองจากระดับมัธยมศึกษา คำว่า อุดมศึกษา มีรากศัพท์มาจากศัพท์ภาษาบาลี "อุตม" หมายถึง สูงสุด และศัพท์ภาษาสันสกฤต ศิกฺษา หมายถึง การเล่าเรียน ดังนั้น คำว่า "อุดมศึกษา" จึงหมายถึง การเรียนขั้นสูง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและอุดมศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

ผลงานการตีพิมพ์ของนักวิจัยไทย

ำนวนผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติที่อยู่บนฐานข้อมูล ISI ผลงานการตีพิมพ์ของนักวิจัยไทย เป็นผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ หรือนานาชาติ ซึ่งสามารถสืบค้นได้โดยอาศัยฐานข้อมูลดัชนีอ้างอิงงานวิทยาศาสตร์ (Science Citation Index) รวมทั้งสังคมศาสตร์ (Social Sciences Citation Index) และศิลปศาสตร์และมนุยศาสตร์(Arts & Humanities Citation Index) โดย ทอมสันไซแอนติฟิก (ISI) ผลงานตีพิมพ์วิจัยนั้นเป็นตัวชี้วัดหนึ่งซึ่งใช้วัดคุณภาพของสถาบันอุดมศึกษา ตามการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษา สำหรับผลงานของนักวิจัยไทยนั้น ได้มีผู้รวมรวมผลงานวิจัยของนักวิจัยไทยตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและผลงานการตีพิมพ์ของนักวิจัยไทย · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เป็นผู้บริหารราชการแผ่นดินในพระปรมาภิไธยหรือพระนามาภิไธยพระมหากษัตริย์ เนื่องจากพระมหากษัตริย์ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะก็ดี ทรงพระประชวรก็ดี ทรงไม่อาจบริหารพระราชกิจได้ก็ดี หรือไม่ทรงอยู่ในประเทศก็ดี ในสมัยราชวงศ์จักรีเริ่มมีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากพระองค์ทรงขึ้นครองราชย์เมื่อพระองค์ยังทรงพระเยาว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกาญจนบุรี

ังหวัดกาญจนบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกของประเทศไทย มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 19,473 ตารางกิโลเมตร มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองจากจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดเชียงใหม่ และมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันตก มีระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 129 กิโลเมตร มีชายแดนติดต่อกับประเทศพม่าระยะทางประมาณ 370 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ ทิศเหนือ จรดจังหวัดตากและจังหวัดอุทัยธานี ทิศใต้ จรดจังหวัดราชบุรี ทิศตะวันออก จรดจังหวัดสุพรรณบุรีและนครปฐม ทิศตะวันตก จรดประเทศพม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและจังหวัดกาญจนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดราชบุรี

ราชบุรี เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตก โดยเป็นศูนย์กลางในด้านอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร เช่น มะพร้าว ชมพู่ ฝรั่ง มะม่วง และการปศุสัตว์ของประเทศ รวมทั้งเป็นศูนย์กลางในด้านพลังงานของประเทศในปัจจุบัน โดยมีเมืองราชบุรีเป็นศูนย์กลางด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และการคมนาคมในภูมิภาค ทิศเหนือติดต่อจังหวัดกาญจนบุรี ทิศใต้ติดต่อจังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวันออกติดต่อจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดนครปฐม และทิศตะวันตกติดต่อประเทศพม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและจังหวัดราชบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรปราการ

ังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและจังหวัดสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอำนาจเจริญ

อำนาจเจริญ เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง มีประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนานจากการค้นพบแหล่งชุมชนโบราณ โบราณสถาน และโบราณวัตถุตามที่กรมศิลปากรค้นพบและสันนิษฐานไว้ตามหลักฐานทางโบราณคดี (ใบเสมาอายุราว 1,000 ปี) และได้ตั้งเป็นเมืองมานานหลายร้อยปี ได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นจังหวัดเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2536 พร้อมกับจังหวัดหนองบัวลำภูและจังหวัดสระแก้ว เดิมเป็นอำเภอในจังหวัดอุบลราชธานี ประกอบด้วยอำเภออำนาจเจริญ (ปัจจุบันคืออำเภอเมืองอำนาจเจริญ) อำเภอชานุมาน อำเภอปทุมราชวงศา อำเภอพนา อำเภอหัวตะพาน อำเภอเสนางคนิคม และกิ่งอำเภอลืออำนาจ (ปัจจุบันคืออำเภอลืออำนาจ) คำว่าอำนาจเจริญเป็นภาษาเขมร มีความหมายตามตัว คือ อำนาจเจริญ เมืองที่มีสมญานามว่า เมืองข้าวหอมโอชา ถิ่นเสมาพันปี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและจังหวัดอำนาจเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นจังหวัดในภาคตะวันตกของประเทศไทย เป็นจังหวัดที่มีรูปร่างยาวในแนวเหนือ-ใต้ และแคบในแนวตะวันออก-ตะวันตก โดยมีส่วนที่แคบที่สุดของประเทศไทย ระยะทางประมาณ 12 กิโลเมตร มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดอยู่ที่เทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ ในขณะที่เมืองที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลเมืองหัวหิน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและจังหวัดนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครศรีธรรมราช

นครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดในประเทศไทย มีประชากรมากที่สุดในภาคใต้และมีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ (รองจากสุราษฎร์ธานี) ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 780 กิโลเมตร มีจังหวัดที่อยู่ติดกันได้แก่ สงขลา พัทลุง ตรัง กระบี่ และสุราษฎร์ธานี ในอดีต มีชื่อเรียกดินแดนแถบนี้หลายชื่อ เช่น ในคัมภีร์มหานิเทศของอินเดีย ที่เขียนขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 7-8 เรียกว่า "ตามพรลิงก์" หรืออาณาจักรตามพรลิงก์, บันทึกโบราณของเมืองจีนเรียก "เซี้ยะ-โท้ว (ถู-กวั่ว) ", "รักตะมฤติกา" (จารึกภาษาสันสกฤต) ซึ่งล้วนหมายถึง "ดินแดนที่มีดินสีแดง", ตะวันตกนิยมเรียกกันมา จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ "ลิกอร์" สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกสที่เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นผู้เรียกก่อน โดยเพี้ยนมาจากคำว่า "นคร" ส่วนชื่อ "นครศรีธรรมราช" มาจากพระนามของกษัตริย์ผู้ครองนครในอดีต มีพระนามว่า "พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช" (ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช) มีความหมายว่า "นครอันเป็นสง่าแห่งพระราชาผู้ทรงธรรม" หรือ "เมืองแห่งพุทธธรรมของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่" ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองนครศรีธรรมราชมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นเอกคู่กับเมืองพิษณุโลก มีขุนนางชั้นผู้ใหญ่ระดับเจ้าพระยาเป็นเจ้าเมือง มีบรรดาศักดิ์ตามพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหารหัวเมือง ว่า เจ้าพระยาศรีธรรมราชชาติเดโชไชยมไหยสุริยาธิบดีอภัยพิรียบรากรมภาห.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและจังหวัดนครศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครสวรรค์

ังหวัดนครสวรรค์ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ระหว่างตอนบนของภาคกลาง มีพื้นที่ประมาณ 9,597 ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความสำคัญในทางประวัติศาสตร์อีกจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย มีพื้นที่ติดต่อกับหลายจังหวัด ได้แก่ ด้านเหนือ ติดต่อกับจังหวัดพิจิตรและกำแพงเพชร ทางตะวันออกติดกับจังหวัดเพชรบูรณ์และลพบุรี ด้านใต้ติดกับจังหวัดสิงห์บุรี ชัยนาท และอุทัยธานี ส่วนด้านตะวันตกติดกับจังหวัดตาก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและจังหวัดนครสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครปฐม

ังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จังหวัดนี้มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน เชื่อว่าเป็นที่ตั้งเก่าแก่ของเมืองในสมัยทวารวดี โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและจังหวัดนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระรามที่ 6

นนพระรามที่ 6 (Thanon Rama VI) เป็นถนนสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร แยกจากถนนจรัสเมือง แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนพระรามที่ 1 ที่สี่แยกพงษ์พระราม บริเวณใกล้วัดชำนิหัตถการ (วัดสามง่าม) ข้ามคลองมหานาคเข้าสู่พื้นที่แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี ตัดกับถนนเพชรบุรี (สี่แยกอุรุพงษ์) และทางรถไฟสายตะวันออก เข้าสู่แขวงทุ่งพญาไท ตัดกับถนนศรีอยุธยา (สี่แยกศรีอยุธยา) ถนนราชวิถี (สี่แยกตึกชัย) ข้ามคลองสามเสน และเริ่มเลียบคลองประปาในพื้นที่แขวงพญาไท เขตพญาไท ตัดกับถนนนครไชยศรี (สามแยกโรงกรองน้ำ) ตัดกับซอยพระรามที่ 6 ซอย 34 และซอยพระรามที่ 6 ซอย 37 (สี่แยกพิบูลวัฒนา) ตัดกับถนนประดิพัทธ์ (สี่แยกประดิพัทธ์) จากนั้นไปทางทิศตะวันตก ตัดกับถนนกำแพงเพชร ทางรถไฟสายเหนือ และถนนเทอดดำริ เข้าสู่พื้นที่แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต จนถึงถนนเตชะวณิช (สามแยกวัดสะพานสูง) ถนนพระรามที่ 6 เดิมชื่อ "ถนนประทัดทอง" สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คำว่า "ประทัดทอง" นั้นจากชื่อเครื่องลายครามที่มีภาพต้นประทัดทอง ภายหลังเรียกเพี้ยนเป็นบรรทัดทอง ครั้นมาถึงในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อถนนประทัดทองตลอดทั้งสายเป็น "ถนนพระรามที่ 6" เพราะเป็นถนนที่โปรดเกล้าฯ ให้ปรับปรุงเป็นเส้นทางไปโรงกรองน้ำประปาสามเสน และต่อไปยังสะพานพระราม 6.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและถนนพระรามที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนราชวิถี

นนราชวิถี เป็นชื่อถนนที่มีอยู่ในหลายจังหวัดของประเทศไทย ทั้งนี้อาจหมายถึง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและถนนราชวิถี · ดูเพิ่มเติม »

ถนนศรีอยุธยา

นนศรีอยุธยาบริเวณหน้าโรงพยาบาลพญาไท 1 สนามเสือป่า โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร ถนนศรีอยุธยา (Thanon Si Ayutthaya) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีระยะทางเริ่มตั้งแต่ถนนราชปรารภ เขตราชเทวี ไปทางทิศตะวันตก ตัดกับถนนพญาไท (สี่แยกพญาไท) ถนนพระรามที่ 6 (สี่แยกศรีอยุธยา) ถนนกำแพงเพชร 5 และทางรถไฟสายเหนือ เข้าสู่ท้องที่เขตดุสิต จากนั้นตัดกับถนนสวรรคโลก (สี่แยกเสาวนี) ถนนพระรามที่ 5 (สี่แยกวัดเบญจฯ) ถนนราชดำเนินนอก (สี่แยกหน้าลานพระบรมรูปทรงม้า) ถนนนครราชสีมา (สี่แยกหอประชุมทหารบก) และถนนสามเสน (สี่แยกสี่เสาเทเวศร์) ไปสิ้นสุดที่ริมแม่น้ำเจ้าพร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและถนนศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบรัฐบาลไทย

ทำเนียบรัฐบาล เป็นสถานที่ราชการสำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย เนื่องจากเป็นสถานที่ทำงานของรัฐบาลไทย นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ตลอดจนข้าราชการและเจ้าหน้าที่ ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี, สถานที่ประชุมคณะรัฐมนตรี, สถานที่ต้อนรับบุคคลสำคัญระดับผู้นำต่างประเทศ ซึ่งมาเยือนประเทศไทย และยังใช้เป็นสถานที่จัดรัฐพิธี เช่น งานสโมสรสันนิบาตเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ เป็นต้น ตั้งอยู่เลขที่ 1 ถนนพิษณุโลก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 2 ไร่ 3 งาน 44 ตารางว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและทำเนียบรัฐบาลไทย · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐ ภมรประวัติ

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ ณัฐ ภมรประวัติ (29 พฤศจิกายน 2471 – 16 กุมภาพันธ์ 2547) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล อดีตกรรมการมูลนิธิจุฬาภรณ์ ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นประจำปี พ.ศ. 2536 สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ จากผลงานเด่นด้านพยาธิวิทยาของโรคตับ ศาสตราจารย์ ดร.ณัฐ ภมรประวัติ เป็นชาวเชียงใหม่ เกิดในตระกูลแพทย์ประจำราชสำนัก ท่านเป็นบุตรคนที่ 1 ในจำนวน 2 คน ของหลวงอายุรกิจโกศล และท่านผู้หญิงยุภา อายุรกิจโกศล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและณัฐ ภมรประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

คอกโครัลลีไซมอนส์

อกโครัลลีไซมอนส์ (Quacquarelli Symonds) (QS) เป็นบริษัทเอกชนทำธุรกิจในด้านการศึกษาก่อตั้งใน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคอกโครัลลีไซมอนส์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นคณะพยาบาลแห่งแรกของไทย กำเนิดมาจาก โรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์และหญิงพยาบาล ในยุคโรงเรียนราชแพทยาลัย นับได้ว่าเป็นคณะพยาบาลที่วางรากฐานด้านการพยาบาลที่ยอดเยี่ยมของไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดและเป็นสถาบันการศึกษาและวิจัยที่ใหญ่ที่สุดสำหรับการเรียนการสอนด้านกายภาพบำบัดในประเทศไทย และเป็นสถาบันที่ผลิตนักกายภาพบำบัดเป็นแห่งแรกของประเทศ ปัจจุบันเปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรี โท เอก และประกาศนียบัตรบัณฑิต ในสาขากายภาพบำบัด และหลักสูตรระดับปริญญาตรี ในสาขากิจกรรมบำบัด นับได้ว่าเป็นคณะที่มีบทบาทต่อการบริการสังคมมากที่สุดแห่งหนึ่ง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิชา

ณะวิชา หรือเรียกอย่างสั้น ๆ ว่า คณะ เป็นองค์กรในสถาบันอุดมศึกษาที่มีหน้าที่จัดการเรียนการสอนและให้บริการความรู้เกี่ยวกับวิชาการสาขาที่อยู่ในประเภทเดียวกัน มีหัวหน้าองค์กรเรียก "คณบดี" บางแห่งเรียก "สำนักวิชา" "สาขาวิชา" หรือ "วิทยาลัย" แทน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะวิชา · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มีจุดประสงค์เพื่อผลิตบุคลากรด้านวิศวกรรมและส่งเสริมงานวิจัยค้นคว้าทางวิศวกรรม ซึ่งถือกำเนิดขึ้นเนื่องจากมหาวิทยาลัยมหิดลต้องการขยายการศึกษาให้กว้างขวางมากขึ้น โดยมีผลงานเด่น คือ หุ่นยนต์สำรวจขั้วโลกใต้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พญาไท คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ถือได้ว่าเป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่มีอาจารย์ได้รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยมากที่สุดของประเทศ และเป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการจัดอันดับสูงสุดในสาขาวิทยาศาสตร์ ทั้งด้านการเรียนการสอน และด้านการวิจัย จากการจัด อันดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย โดย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เมื่อปี พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กำเนิดมาจากการพัฒนาการทางการศึกษา อาจารย์ในภาควิชาภาษาต่างประเทศ สังกัด คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และอาจารย์จากสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรม เพื่อการพัฒนาชนบท (ปัจจุบันคือ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล ประกอบกับ มหาวิทยาลัยมหิดล ต้องการที่จะเปิดสาขาทางศิลปศาสตร์ให้กว้างขวางขึ้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นคณะที่เน้นงานวิจัยทั้งด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศึกษาศาสตร์ มีสำนักงานคณบดีที่ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา คณะนี้เป็นคณะที่มีความโดดเด่นในด้านการเรียนการสอนและการวิจัยสังคมศาสตร์เชิงบูรณาการชั้นนำของประเทศไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในอดีตมหาวิทยาลัยมหิดลเคยมีการเรียนการสอนทางสัตวแพทยศาสตร์ในช่วงที่ยังคงเป็นมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์อยู่ โดยได้รับโอนแผนกอิสระสัตวแพทยศาสตร์มาจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย(ปี พ.ศ. 2486) เป็นคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ต่อมาทางมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ได้โอน คณะสัตวแพทยศาสตร์ ไปสังกัดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์(ปี พ.ศ. 2497) จึงเป็นการสิ้นสุดการเรียนการสอนทางสัตวแพทยศาสตร์ในมหาวิทยาลัยมหิดลช่วงหนึ่ง หลังจากนั้นทางมหาวิทยาลัยมหิดลจึงได้ก่อตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์ขึ้นใหม่อีกครั้งหนึ่งในเวลาต่อมา(ปี พ.ศ. 2540).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดตั้งขึ้นเป็นคณะลำดับที่ 5 ของมหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2497 โดยได้รับโอนมาจากมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (มหาวิทยาลัยมหิดลในปัจจุบัน) ปัจจุบัน คณะสัตวแพทยศาสตร์ มีที่ทำการอยู่ 2 วิทยาเขต ได้แก่ วิทยาเขตบางเขน และวิทยาเขตกำแพงแสน มีโรงพยาบาลสัตว์ในเครือทั้งหมด 4 แห่ง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะสัตวแพทยศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย ถือกำเนิดขึ้นในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นคณะสาธารณสุขแห่งแรกของไทย และมีบทบาทในการวางรากฐานด้านการศึกษาทางสาธารณสุขของประเทศมาโดยตลอ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จัดตั้งเพื่อศึกษาสิ่งแวดล้อม เนื่องจากมหาวิทยาลัยเล็งเห็นความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ และยังเป็นคณะที่มีผลงานทางด้านสิ่งแวดล้อมที่โดดเด่นและเกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติมากม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เดิมมีชื่อว่า คณะทันตแพทยศาสตร์พญาไท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งคณะฯ ขึ้นเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2511 เพื่อเพิ่มจำนวนทันตแพทย์ ให้เพียงพอต่อความต้องการของประเทศในขณะนั้น คณะทันตแพทยศาสตร์ พญาไท เลขที่ 6 ถนนโยธี เป็นคณะทันตแพทยศาสตร์คณะที่ 2 โดยขยายมาจากคณะทันตแพทยศาสตร์คณะแรกที่ถนนอังรีดูนังต์ ต่อมาในวันที่ 2 มีนาคม 2512 มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามมหิดล อันเป็นพระนามของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นชื่อมหาวิทยาลัยมหิดลแทน ชื่อเดิมมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ชื่อของ คณะทันตแพทยศาสตร์ จึงเป็นคณะทันตแพทยศาสตร์พญาไท มหาวิทยาลัยมหิดล..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะทันตแพทยศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย จัดตั้งเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2483 มีฐานะเป็นแผนกอิสระทันตแพทยศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยแต่งตั้งให้ศาสตราจาร.อ.หลวงวาจวิทยาวัฑฒน์ ดำรงตำแหน่งหัวหน้าแผนกอิสระคนแรกและต่อมาได้ดำรงตำแหน่งคณบดีคนแรกเช่นกัน ปี 2559 คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะทันตแพทยศาสตร์อันดับ 1 ของประเทศไทย จากการจัดอันดับของ QS World University Rankings by Subject 2016.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นโรงเรียนแพทย์แห่งที่สามของประเทศไทยต่อจากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และยังเป็นเป็นโรงเรียนแพทย์ในส่วนภูมิภาคแห่งแรกของประเทศไทย สถานที่ตั้งปัจจุบันคือ เลขที่ 110 ถนนอินทวโรรส ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่ประมาณ 276 ไร่ มุมทิศตะวันออกเฉียงใต้ จดประตูสวนดอก คณบดีคนปัจจุบันของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คือ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ บรรณกิจ โลจนาภิวัฒน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานระดับคณะวิชาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีพระราชกฤษฎีกาประกาศตั้งเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 มีผลบังคับใช้ในวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2490 ภายใต้มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ จนกระทั่งถูกโอนมาสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2510 เป็นคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 2 ของประเทศไทย ถือกำเนิดจากพระราชปรารภในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รัชกาลที่ 8 การดำเนินการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร์แห่งนี้เริ่มขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงเพียงแปดเดือนเท่านั้น ถือเป็นช่วงเวลาที่ประเทศไทย ประสบความยากลำบากทางการเมืองและเศรษฐกิจเป็นอย่างยิ่ง อีกทั้งจำเป็นต้องมีการบูรณะบ้านเมืองที่เสียหายจากการทิ้งระเบิด คณะแพทยศาสตร์แห่งนี้จึงมีส่วนสำคัญในการพัฒนาวงการสาธารณสุขของประเทศ ในช่วงเวลาที่ประเทศกำลังอยู่ในภาวะวิกฤต ควบคู่ไปกับการพัฒนามาตรฐานแพทยศาสตรศึกษา ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นศูนย์ความร่วมมือขององค์การอนามัยโลก 3 สาขา ได้แก่ ศูนย์ความร่วมมือด้านแพทยศาสตรศึกษา ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยการสืบพันธุ์ของมนุษย์ ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยและฝึกอบรมด้านไวรัสและโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยดำเนินงานร่วมกับโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทยสภากาชาดไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช

ณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช เป็นโรงเรียนแพทย์ที่ก่อตั้งขึ้นเป็นแห่งที่ 10 ของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล นับได้ว่าเป็นคณะที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของประเทศไทย โดยมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนแพทยากร และพัฒนามาจนกระทั่งเป็น คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มีอายุ 128 ปี มีแพทย์สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 121 รุ่น นักศึกษาแพทย์ปีการศึกษา 2560 นี้นับเป็นรุ่นที่ 128.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2508 โดยได้รับการสนับสนุนจาก มูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์ ทั้งในด้านทุนทรัพย์และบุคลากร และยังมีผู้เชี่ยวชาญไทยที่ผ่านการฝึกอบรมจากประเทศสหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักรอีกจำนวนหนึ่งด้วย ปัจจุบัน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี รับนักศึกษาเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี (เป็นนักศึกษาแพทย์ประมาณ 180 คน นักศึกษาพยาบาลอีก 150 คนและ นักศึกษาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ 30 คนต่อปี) ระดับหลังปริญญาในสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาที่เกี่ยวข้องมีโครงการปริญญาเอก โครงการฝึกอบรมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ และสาขาย่อยเฉพาะทาง รวมทั้งการวิจัยด้วย เป้าหมายของคณะฯ คือการผลิตบุคลากรทางการแพทย์สาขาต่างๆพยาบาล และบุคลากรอื่นทางการแพทย์ที่มีคุณภาพ เน้นให้นักศึกษาได้เรียนรู้การดูแลรักษาแบบองค์รวม การใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมและสามารถทำงานในชุมชนได้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2511 ในยุคของมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ซึ่งแรกก่อตั้งใช้ชื่อว่า คณะเภสัชศาสตร์ พญาไท มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ เนื่องจากในเวลานั้นมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ได้โอนย้ายสังกัดคณะเภสัชศาสตร์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาก่อนหน้าแล้ว (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปัจจุบัน) ต่อมาในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะเภสัชศาสตร์แห่งแรกในประเทศไทย โดยถือกำเนิดจาก "แผนกแพทย์ผสมยา โรงเรียนราชแพทยาลัย" หรือ "โรงเรียนปรุงยา" ตามดำริของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกประชานารถและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาชัยนาทนเรนทร เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2456 ซึ่งถือเป็นวันสถาปนาคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นวันสถาปนาวิชาชีพเภสัชกรรมในประเทศไทยอีกด้วยหนังสือ "กระถินณรงค์'44" เมื่อประดิษฐานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยแล้ว โรงเรียนปรุงยามีฐานะเป็นแผนกแพทย์ผสมยา ในสังกัดคณะแพทยศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล) และได้รับการพัฒนาหลักสูตรขึ้น จัดตั้งเป็นแผนกเภสัชกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล จัดตั้งขึ้นเพื่อศึกษาโรคต่าง ๆ ในเขตร้อน เป็นคณะด้านนี้แห่งเดียวในประเทศไทย และเป็นคณะที่มีผลงานวิจัยจำนวนมากตีพิมพ์ในวารสารระดับโลก นอกจากนี้ คณะยังมีโรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน ที่เปิดให้การรักษาพยาบาลเฉพาะทางด้านโรคเขตร้อน อายุรกรรมทั่วไป และอายุรกรรมเฉพาะทางหลากหล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล

อาคารคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นคณะเทคนิคการแพทย์คณะแรกของประเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เปิดสอนในหลักสูตรเทคนิคการแพทย์และรังสีเทคนิค ทั้งในระดับปริญญาตรี โท และเอก ด้วยความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณที่มีต่อวงการเทคนิคการแพทย์ และคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปีการศึกษา 2544 มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ทูลเกล้าฯ ถวายปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (เทคนิคการแพทย์) แด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและ ในปีการศึกษา 2545 ทูลเกล้าฯ ถวายปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (เทคนิคการแพทย์) แด่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ยังความปลาบปลื้มมาสู่คณาจารย์ และนักศึกษาคณะเทคนิคการแพทย์อย่างมาก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นคณะลำดับที่ 20 ของมหาวิทยาลัยมหิดล คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเดิมคือภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และสำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ก่อตั้งขึ้นในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติมหาวิทยาลัยมหิดล

ประวัติของมหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดลมีประวัติยาวนานกว่า 100 ปี โดยสามารถแบ่งออกเป็นยุคต่าง ๆ ดังนี้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและประวัติมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

ประดิษฐ์ เจริญไทยทวี

ตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์ ประดิษฐ์ เจริญไทยทวี หรือมักเรียกกันว่า หมอหลวง (5 ตุลาคม พ.ศ. 2475 - 20 กันยายน พ.ศ. 2553) ซึ่งเป็นแพทย์ที่เคยถวายการรักษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ผู้มีส่วนร่วมในการก่อตั้งสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว และวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ กับทั้งเคยดำรงตำแหน่งกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ สมาชิกสมัชชาแห่งชาติ และสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและประดิษฐ์ เจริญไทยทวี · ดูเพิ่มเติม »

ประเวศ วะสี

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ ประเวศ วะสี ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดลกรรมการสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการ สภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ราษฎรอาวุโส เป็นนักวิชาการด้านสาธารณสุข และนักวิชาการเกี่ยวกับการศึกษา ทั้งเป็นผู้สนับสนุนงานค้นคว้าวิจัยต่างๆที่เกี่ยวกับการแก้ปัญหาและพัฒนาชีวิต นายแพทย์ประเวศ วะสี เกิดเมื่อวันที่ ตำบลเกาะสำโรง บนฝั่งลำน้ำแควน้อย จังหวัดกาญจนบุรี เป็นบุตรคนที่ 4 ของนายคลายและนางกิม วะสี ศึกษาชั้นมูลฐานในวัยเยาว์ที่โรงเรียนวัดเหนือ ชั้นประถมศึกษาที่ โรงเรียนประชาบาลตำบลเกาะสำโรง ชั้นมัธยมที่โรงเรียนวิสุทธรังษี จนถึง..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและประเวศ วะสี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและประเทศอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ปิยะสกล สกลสัตยาทร

ตราจารย์คลินิก เกียรติคุณ นายแพทย์ ปิยะสกล สกลสัตยาทร (9 กรกฎาคม พ.ศ. 2491 -) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และ ประธานกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในรัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา กรรมการในคณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยศาสตร์และอุบัติเหตุ นายกสภาสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา เคยดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล โดยเข้ารับตำแหน่งในปีแรกที่มหาวิทยาลัยมหิดลออกนอกระบบเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ (9 ธันวาคม 2550 - 8 ธันวาคม 2554) มีวิสัยทัศน์ที่ชัดเจนในการนำมหาวิทยาลัยมหิดลมุ่งสู่การติดอันดับ 1 ใน 100 ของมหาวิทยาลัยโลก เป็นคณบดีคนที่ 15 ของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ต่อเนื่อง 2 สมัย (พ.ศ. 2543 - 2550) ได้ถวายงานเป็นแพทย์อาสาตามเสด็จพระราชดำเนินพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ มาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและปิยะสกล สกลสัตยาทร · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลรามาธิบดี

รงพยาบาลรามาธิบดี เป็นหน่วยงานหนึ่งในระดับภาควิชาของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และเป็นสถานพยาบาลแห่งหนึ่งของรัฐ ตั้งอยู่เลขที่ 270 ถนนพระราม 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 มีเนื้อที่ทั้งหมด 38 ไร่ มีอาคารรวม 20 อาคาร เริ่มเปิดดำเนินการรักษาคนไข้เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและโรงพยาบาลรามาธิบดี · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลศิริราช

รงพยาบาลศิริราช เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของ ประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) เคยเป็นที่ประทับรักษาพระประชวรของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ตลอดจนพระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ เช่น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและโรงพยาบาลศิริราช · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์

รงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ เป็นโรงพยาบาลของรัฐ สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งอยู่ เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและโรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน

รงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเฉพาะทางที่ให้การบริการรักษาโรคเขตร้อน อยู่ภายใต้สังกัดคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล บริการการพยาบาลโรคในที่พบอย่างชุกในเขตรร้อนชื้น อาทิโรคมาลาเรีย โรคพยาธิต่างๆ โรคตับ โรคติดเชื้อจากแบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อนก่อตั้งเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2504 โดย ศาสตราจารย์ นายแพทย์ จำลอง หะริณสุต และศาสตราจารย์ แพทย์หญิง คุณหญิงตระหนักจิต หะริณสุต เป็นหน่วยงานในคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ณ ตึกเวชกรรมเมืองร้อน อาคาร 3 ชั้น มีศาสตราจารย์ แพทย์หญิง คุณหญิงตระหนักจิต หะริณสุต เป็นผู้อำนวยการโรงพยาบาลคนแรก โรงพยาบาลเปิดรับรักษาเฉพาะผู้ป่วยใน ซึ่งเป็นผู้ป่วยที่ถูกส่งมาจากโรงพยาบาลศิริราช หรือสถานพยาบาลอื่นๆ ในสมัยนั้นมีหอผู้ป่วยเพียงหอเดียว เป็นหอผู้ป่วยรวม ใช้ฉากกั้นระหว่างผู้ป่วยชายและผู้ป่วยหญิง มีจำนวน 20 เตียง ในปีต่อมามีผู้ป่วยมาขอรับบริการที่โรงพยาบาลเพิ่มมากขึ้น ทางโรงพยาบาลจึงได้มีการจัดส่วนหนึ่งของหอผู้ป่วยทำเป็นแผนกตรวจผู้ป่วยนอก นับเป็นจุดเริ่มต้นของแผนกผู้ป่วยนอก หลังจากนั้นก็ได้มีการก่อสร้างอาคารใหม่ 5 ชั้น เพื่อรองรับกับจำนวนผู้ป่วยที่มาขอรับบริการ โดยสร้างอาคารเสร็จเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2507 และได้ทำการย้ายผู้ป่วยไปยังอาคารใหม่ มีการดัดแปลงห้องผู้ป่วยเดิมเป็นแผนกผู้ป่วยนอก และขยายการบริการไปเรื่อยๆจนครบทั้งหมด 5 ชั้น จากช่วงที่เริ่มเปิดโรงพยาบาล มีเตียงผู้ป่วยเพียงแค่ 20 เตียง แต่ได้มีการพัฒนาโรงพยาบาลเรื่อยมาจนในปัจจุบันมีความสามารถในการรองรับผู้ป่วยได้ถึง 250 เตียง แบ่งเป็น เตียงผู้ป่วยสามัญ เตียงผู้ป่วยพิเศษ เตียง ICU เป็นต้น โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน เป็นโรงพยาบาลเฉพาะทางที่ให้การบริการรักษาโรคเขตร้อน ได้แก่ โรค มาลาเรีย โรคพยาธิต่างๆ โรคตับ โรคติดเชื้อจากแบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา นอกจากนี้ยังมีให้บริการตรวจโรคมาลาเรียตลอด 24 ชั่วโมง และรักษาโรคทางอายุรกรรมทั่วไป และเปิดให้บริการการรักษาพยาบาลคลินิคพิเศษต่างๆ เช่น คลินิคพยาธิตัวจี๊ด คลินิคเวชศาสตร์การท่องเที่ยวและการเดินทาง (Travel Clinic) คลินิคโรคทางเดินอาหาร โรคตับ คลินิคเวชศาสตร์แผนจีน (ฝังเข็ม) หน่วยเวชศาสตร์แผนไทย แต่เนื่องจากโรคพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อนเป็นโรงพยาบาลเฉพาะทาง จึงไม่มีแผนกศัลยกรรม แผนกสูตินรีเวช แผนกอุบัติเหตุ นอกจากภารกิจในการให้บริการคนไข้แล้ว โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อนยังมีส่วนสำคัญช่วยสนับสนุนคณะเวชศาสตร์เขตร้อนในงานวิชาการด้านต่างๆ ทั้งการสอน การวิจัย และเป็นที่ศึกษาดูงานของแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและโรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

รงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ เป็นโรงเรียนวิทยาศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย มีฐานะเป็นองค์การมหาชน ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2534 และเปลี่ยนสถานภาพเป็นองค์การมหาชนเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2543 เคยตั้งอยู่ที่วัดไร่ขิง ในปัจจุบันตั้งอยู่ ณ ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เป็นโรงเรียนที่ตั้งขึ้นเพื่อสร้างนักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ และเป็นโรงเรียนที่มีเครือข่ายกับโรงเรียนวิทยาศาสตร์ชั้นนำในประเทศอื่น ๆ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์มีการใช้ระบบคัดเลือกนักเรียนเข้าเรียนเอง โดยปรกติมีอัตราการรับเข้าประมาณ 1.5% (240 คนจากนักเรียนที่สมัครแต่ละปีประมาณ 20,000 คน) โดยนักเรียนทุกคนได้รับทุนการศึกษาเต็มตลอดระยะเวลาที่เรียนอยู่ในโรงเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

รงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University International Demonstration School: MUIDS) เป็นโรงเรียนนานาชาติในสังกัดมหาวิทยาลัยมหิดล เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และรับนักเรียนเข้าศึกษาต่อในชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4 หรือเกรด 10 ขึ้นไปเท่านั้น การจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน จะเป็นหลักสูตรการเรียนการสอนแบบนานาชาติที่เน้นใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลัก แต่จะอยู่บนรากฐานของความเป็นไทย โดยที่นักเรียนสามารถเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรอุดมศึกษาทั้งในประเทศ และต่างประเทศได้ต่อไปอีกด้วย โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและโรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางพลัด

ตบางพลัด เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ เดิมถือเป็นพื้นที่รอบนอก แต่ปัจจุบันมีความเจริญเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สภาพทั่วไปเป็นแหล่งการค้าและแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก แต่ก็มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมตั้งอยู่ด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและเขตบางพลัด · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางกอกน้อย

ตบางกอกน้อย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี โดยมีคำขวัญประจำเขตว่า "สมเด็จโตวัดระฆัง วังหลังตั้งอยู่ อู่เรือพระราชพิธี สถานีรถไฟ คลองใหญ่มีชื่อ เลื่องลือเครื่องลงหิน นามระบิลช่างหล่อ งามลออวัดวา".

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและเขตบางกอกน้อย · ดูเพิ่มเติม »

เขตพญาไท

ตพญาไท เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและเขตพญาไท · ดูเพิ่มเติม »

เขตราชเทวี

ตราชเทวี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและเขตราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน

อาคารจามจุรี 10 สำนักงานใหญ่เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (ASEAN University Network; AUN) เป็นความร่วมมือของสถาบันอุดมศึกษาระหว่างประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน ก่อตั้งขึ้นเมื่อพฤศจิกายน ค.ศ. 1995 รวม 13 สถาบัน ต่อมาได้ขยายความร่วมมือระหว่างอาเซียนเพิ่มมากขึ้นทำให้สมาชิกของเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนเพิ่มจำนวนเป็น 30 สถาบัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน · ดูเพิ่มเติม »

1 สิงหาคม

วันที่ 1 สิงหาคม เป็นวันที่ 213 ของปี (วันที่ 214 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 152 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ1 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 มีนาคม

วันที่ 12 มีนาคม เป็นวันที่ 71 ของปี (วันที่ 72 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 294 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ12 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 กันยายน

วันที่ 15 ก.. เป็นวันที่ 258 ของปี (วันที่ 259 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 107 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ15 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

15 สิงหาคม

วันที่ 15 สิงหาคม เป็นวันที่ 227 ของปี (วันที่ 228 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 138 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ15 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 กันยายน

วันที่ 16 กันยายน เป็นวันที่ 259 ของปี (วันที่ 260 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 106 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ16 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

16 สิงหาคม

วันที่ 16 สิงหาคม เป็นวันที่ 228 ของปี (วันที่ 229 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 137 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ16 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 ตุลาคม

วันที่ 16 ตุลาคม เป็นวันที่ 289 ของปี (วันที่ 290 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 76 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ16 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 เมษายน

วันที่ 16 เมษายน เป็นวันที่ 106 ของปี (วันที่ 107 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 259 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ16 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

17 เมษายน

วันที่ 17 เมษายน เป็นวันที่ 107 ของปี (วันที่ 108 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 258 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ17 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

19 กุมภาพันธ์

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 50 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 315 วันในปีนั้น (316 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ19 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

2 กุมภาพันธ์

วันที่ 2 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 33 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 332 วันในปีนั้น (333 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ2 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

2 มิถุนายน

วันที่ 2 มิถุนายน เป็นวันที่ 153 ของปี (วันที่ 154 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 212 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ2 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

21 กุมภาพันธ์

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 52 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 313 วันในปีนั้น (314 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ21 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

22 เมษายน

วันที่ 22 เมษายน เป็นวันที่ 112 ของปี (วันที่ 113 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 253 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ22 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

23 มิถุนายน

วันที่ 23 มิถุนายน เป็นวันที่ 174 ของปี (วันที่ 175 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 191 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ23 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

23 เมษายน

วันที่ 23 เมษายน เป็นวันที่ 113 ของปี (วันที่ 114 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 252 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ23 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

26 มกราคม

วันที่ 26 มกราคม เป็นวันที่ 26 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 339 วันในปีนั้น (340 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ26 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

27 กุมภาพันธ์

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 58 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 307 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ27 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

28 สิงหาคม

วันที่ 28 สิงหาคม เป็นวันที่ 240 ของปี (วันที่ 241 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 125 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ28 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 กรกฎาคม

วันที่ 29 กรกฎาคม เป็นวันที่ 210 ของปี (วันที่ 211 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 155 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ29 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 มิถุนายน

วันที่ 3 มิถุนายน เป็นวันที่ 154 ของปี (วันที่ 155 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 211 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ3 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

3 เมษายน

วันที่ 3 เมษายน เป็นวันที่ 93 ของปี (วันที่ 94 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 272 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ3 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

30 พฤศจิกายน

วันที่ 30 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 334 ของปี (วันที่ 335 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 31 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ30 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

31 กรกฎาคม

วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 212 ของปี (วันที่ 213 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 153 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ31 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 ธันวาคม

วันที่ 31 ธันวาคม เป็นวันที่ 365 ของปี (วันที่ 366 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เป็น "วันสิ้นปี" ก่อนวันขึ้นปีใหม่ เป็นวันสุดท้ายของปี โดยวันรุ่งขึ้นเป็นวันที่ 1 มกราคม ของปีถัดไป.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ31 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 เมษายน

วันที่ 6 เมษายน เป็นวันที่ 96 ของปี (วันที่ 97 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 269 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ6 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

8 ธันวาคม

วันที่ 8 ธันวาคม เป็นวันที่ 342 ของปี (วันที่ 343 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 23 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ8 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 ธันวาคม

วันที่ 9 ธันวาคม เป็นวันที่ 343 ของปี (วันที่ 344 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 22 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหิดลและ9 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Mahidol Universityม.มหิดลมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์โรงเรียนราชแพทยาลัยโรงเรียนแพทยากร

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »