สารบัญ
106 ความสัมพันธ์: บางเขนชีววิทยาฟิสิกส์พ.ศ. 2510พ.ศ. 2511พ.ศ. 2512พ.ศ. 2516พ.ศ. 2518พ.ศ. 2519พ.ศ. 2524พ.ศ. 2526พ.ศ. 2530พ.ศ. 2534พ.ศ. 2536พ.ศ. 2537พ.ศ. 2538พ.ศ. 2546พ.ศ. 2550พ.ศ. 2551พ.ศ. 2552พ.ศ. 2558พ.ศ. 2559พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชบัญญัติพิธีสำเร็จการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)กระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)กองทัพอากาศภาวิช ทองโรจน์ภาษาอังกฤษภาษาไทยภูมิศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยบูรพามหาวิทยาลัยมหาสารคามมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาวิทยาลัยอีสานมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยทักษิณมหาวิทยาลัยนครพนมมหาวิทยาลัยนเรศวรมนุษยศาสตร์รัฐแคลิฟอร์เนียราชพฤกษ์วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคามวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม... ขยายดัชนี (56 มากกว่า) »
- จังหวัดมหาสารคาม
- สถาบันการศึกษาที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2511
บางเขน
งเขน อาจหมายถึง; ชื่อสถานที.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและบางเขน
ชีววิทยา
ีววิทยา (Biology) เป็นแขนงหนึ่งของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (natural science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับชีวิต และสิ่งมีชีวิต ซึ่งรวมถึง โครงสร้าง การทำงาน การเจริญเติบโต ถิ่นกำเนิด วิวัฒนาการ การกระจายพันธุ์ และอนุกรมวิธาน โดยเป็นการศึกษาในทุก ๆ แง่มุมของสิ่งมีชีวิต โดยคำว่า ชีววิทยา (Biology) มาจากภาษากรีก คือคำว่า "bios" แปลว่า สิ่งมีชีวิต และ "logos" แปลว่า วิชา หรือการศึกษาอย่างมีเหตุผล.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและชีววิทยา
ฟิสิกส์
แสงเหนือแสงใต้ (Aurora Borealis) เหนือทะเลสาบแบร์ ใน อะแลสกา สหรัฐอเมริกา แสดงการแผ่รังสีของอนุภาคที่มีประจุ และ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง ขณะเดินทางผ่านสนามแม่เหล็กโลก ฟิสิกส์ (Physics, φυσικός, "เป็นธรรมชาติ" และ φύσις, "ธรรมชาติ") เป็นวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับ สสาร และ พลังงาน ศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสสารกับพลังงาน รวมทั้งเป็นความรู้พื้นฐานที่นำไปใช้ในการพัฒนาเทคโนโลยีเกี่ยวกับการผลิต และเครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่มนุษย์ ตัวอย่างเช่น การนำความรู้พื้นฐานทางด้านแม่เหล็กไฟฟ้า ไปใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ (โทรทัศน์ วิทยุ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ ฯลฯ) อย่างแพร่หลาย หรือ การนำความรู้ทางอุณหพลศาสตร์ไปใช้ในการพัฒนาเครื่องจักรกลและยานพาหนะ ยิ่งไปกว่านั้นความรู้ทางฟิสิกส์บางอย่างอาจนำไปสู่การสร้างเครื่องมือใหม่ที่ใช้ในวิทยาศาสตร์สาขาอื่น เช่น การนำความรู้เรื่องกลศาสตร์ควอนตัม ไปใช้ในการพัฒนากล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนที่ใช้ในชีววิทยา เป็นต้น นักฟิสิกส์ศึกษาธรรมชาติ ตั้งแต่สิ่งที่เล็กมาก เช่น อะตอม และ อนุภาคย่อย ไปจนถึงสิ่งที่มีขนาดใหญ่มหาศาล เช่น จักรวาล จึงกล่าวได้ว่า ฟิสิกส์ คือ ปรัชญาธรรมชาติเลยทีเดียว ในบางครั้ง ฟิสิกส์ ถูกกล่าวว่าเป็น แก่นแท้ของวิทยาศาสตร์ (fundamental science) เนื่องจากสาขาอื่น ๆ ของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ เช่น ชีววิทยา หรือ เคมี ต่างก็มองได้ว่าเป็น ระบบของวัตถุต่าง ๆ หลายชนิดที่เชื่อมโยงกัน โดยที่เราสามารถสามารถอธิบายและทำนายพฤติกรรมของระบบดังกล่าวได้ด้วยกฎต่าง ๆ ทางฟิสิกส์ ยกตัวอย่างเช่น คุณสมบัติของสารเคมีต่าง ๆ สามารถพิจารณาได้จากคุณสมบัติของโมเลกุลที่ประกอบเป็นสารเคมีนั้น ๆ โดยคุณสมบัติของโมเลกุลดังกล่าว สามารถอธิบายและทำนายได้อย่างแม่นยำ โดยใช้ความรู้ฟิสิกส์สาขาต่าง ๆ เช่น กลศาสตร์ควอนตัม, อุณหพลศาสตร์ หรือ ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นต้น ในปัจจุบัน วิชาฟิสิกส์เป็นวิชาที่มีขอบเขตกว้างขวางและได้รับการพัฒนามาแล้วอย่างมาก งานวิจัยทางฟิสิกส์มักจะถูกแบ่งเป็นสาขาย่อย ๆ หลายสาขา เช่น ฟิสิกส์ของสสารควบแน่น ฟิสิกส์อนุภาค ฟิสิกส์อะตอม-โมเลกุล-และทัศนศาสตร์ ฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ฟิสิกส์พลศาสตร์ที่ไม่เป็นเชิงเส้น-และเคออส และ ฟิสิกส์ของไหล (สาขาย่อยฟิสิกส์พลาสมาสำหรับงานวิจัยฟิวชั่น) นอกจากนี้ยังอาจแบ่งการทำงานของนักฟิสิกส์ออกได้อีกสองทาง คือ นักฟิสิกส์ที่ทำงานด้านทฤษฎี และนักฟิสิกส์ที่ทำงานทางด้านการทดลอง โดยที่งานของนักฟิสิกส์ทฤษฎีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาทฤษฎีใหม่ แก้ไขทฤษฎีเดิม หรืออธิบายการทดลองใหม่ ๆ ในขณะที่ งานการทดลองนั้นเกี่ยวข้องกับการทดสอบทฤษฎีที่นักฟิสิกส์ทฤษฎีสร้างขึ้น การตรวจทดสอบการทดลองที่เคยมีผู้ทดลองไว้ หรือแม้แต่ การพัฒนาการทดลองเพื่อหาสภาพทางกายภาพใหม่ ๆ ทั้งนี้ขอบเขตของวิชาฟิสิกส์ภาคปฏิบัติ ขึ้นอยู่กับขีดจำกัดของการสังเกต และประสิทธิภาพของเครื่องมือวัด ถ้าเทคโนโลยีของเครื่องมือวัดพัฒนามากขึ้น ข้อมูลที่ได้จะมีความละเอียดและถูกต้องมากขึ้น ทำให้ขอบเขตของวิชาฟิสิกส์ยิ่งขยายออกไป ข้อมูลที่ได้ใหม่ อาจไม่สอดคล้องกับสิ่งที่ทฤษฎีและกฎที่มีอยู่เดิมทำนายไว้ ทำให้ต้องสร้างทฤษฏีใหม่ขึ้นมาเพื่อทำให้ความสามารถในการทำนายมีมากขึ้น.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและฟิสิกส์
พ.ศ. 2510
ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและพ.ศ. 2510
พ.ศ. 2511
ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและพ.ศ. 2511
พ.ศ. 2512
ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและพ.ศ. 2512
พ.ศ. 2516
ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและพ.ศ. 2516
พ.ศ. 2518
ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและพ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519
ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและพ.ศ. 2519
พ.ศ. 2524
ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและพ.ศ. 2524
พ.ศ. 2526
ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและพ.ศ. 2526
พ.ศ. 2530
ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและพ.ศ. 2530
พ.ศ. 2534
ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและพ.ศ. 2534
พ.ศ. 2536
ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและพ.ศ. 2536
พ.ศ. 2537
ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและพ.ศ. 2537
พ.ศ. 2538
ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและพ.ศ. 2538
พ.ศ. 2546
ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและพ.ศ. 2546
พ.ศ. 2550
ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและพ.ศ. 2550
พ.ศ. 2551
ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและพ.ศ. 2551
พ.ศ. 2552
ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและพ.ศ. 2552
พ.ศ. 2558
ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและพ.ศ. 2558
พ.ศ. 2559
ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและพ.ศ. 2559
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อาจหมายถึง.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) คือบทกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่เป็นประจำตามปรกติ เพื่อวางระเบียบบังคับความประพฤติของบุคคลรวมทั้งองค์กรและเจ้าหน้าที่ของรัฐ เป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่มีฐานะสูงกว่าบทกฎหมายอื่น ๆ นอกจากรัฐธรรมนูญ ก่อนประกาศใช้บังคับ พระราชบัญญัติมีอยู่ชนิดเดียว แต่บัดนี้รัฐธรรมนูญฯ ได้บัญญัติให้มีพระราชบัญญัติขึ้นอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า “พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ” ซึ่งรัฐธรรมนูญฯ บังคับให้ตราขึ้นเพื่อกำหนดสาระสำคัญในรายละเอียดในกรณีบางเรื่องที่รัฐธรรมนูญกำหนดหลักการไว้ เช่น พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและพระราชบัญญัติ
พิธีสำเร็จการศึกษา
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานปริญญาบัตร แก่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีประจำปีการศึกษา 2520 ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิธีสำเร็จการศึกษา (graduation ceremony) เป็นพิธีการพิเศษซึ่งสถาบันอุดมศึกษาจัดขึ้นเพื่อมอบปริญญาบัตรแก่บัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษาประจำปีอย่างเป็นทางการ โดยเริ่มจัดให้มีขึ้นในต่างประเทศมาก่อน เช่นสหรัฐอเมริกาหรือหลายประเทศในทวีปยุโรป ต่อมาประเทศไทยจึงเริ่มรับเอาประเพณีดังกล่าวเข้ามา โดยกราบบังคมทูลเชิญพระมหากษัตริย์ เพื่อเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธาน จึงบัญญัติศัพท์ให้เรียกว่า พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ทั้งนี้ตั้งแต..
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและพิธีสำเร็จการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)
กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)
กระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)
กระทรวงอุตสาหกรรม (Ministry of Industry) เป็นส่วนราชการของรัฐบาลไทย ประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรม การพัฒนาผู้ประกอบการ และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงอุตสาหกรรม หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและกระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (Ministry of Agriculture and Cooperatives) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)
กองทัพอากาศ
กองทัพอากาศ คือกองกำลังติดอาวุธที่ปฏิบัติการในอากาศหรือเกี่ยวข้องกับอากาศ โดยใช้อากาศยานเป็นส่วนใหญ่ มีหน้าที่ปกป้องน่านฟ้าของประเทศนั้น.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและกองทัพอากาศ
ภาวิช ทองโรจน์
ตราจารย์พิเศษ เภสัชกร ภาวิช ทองโรจน์ ศาสตราภิชานเกิดเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 เคยดำรงตำแหน่งอาทิ คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิการบดีผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาวิทยาลัยนครพนม, มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ รักษาการอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ และนายกสภาเภสัชกรรม ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง นายกสภามหาวิทยาลัยนครพนม และภาคีสมาชิกแห่งราชบัณฑิตยสถาน สาขาเภสัชศาสตร.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและภาวิช ทองโรจน์
ภาษาอังกฤษ
ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและภาษาอังกฤษ
ภาษาไทย
ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและภาษาไทย
ภูมิศาสตร์
แผนที่โลก ภูมิศาสตร์ (geography) เป็นสาขาวิชาหนึ่งที่ทำการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับคุณลักษณะเฉพาะ ของสถานที่ที่ปรากฏอยู่บนพื้นผิวโลก ภูมิศาสตร์จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับการจัดวางสิ่งต่าง ๆ และความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่แบ่งแยกสิ่งหนึ่งออกจากสิ่งอื่น ๆ โดยภูมิศาสตร์พยายามค้นหาเพื่อที่จะตีความให้กระจ่างถึงความสำคัญ ของสิ่งที่เหมือนและแตกต่างกันระหว่างพื้นที่ในรูปของสาเหตุและความเกี่ยวเนื่อง ปัจจุบันการศึกษาด้านภูมิศาสตร์ จะมุ่งเน้นความเข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียดเบื้องต้นที่เกี่ยวกับพื้นที่มากกว่าที่จะศึกษาลักษณะเฉพาะและสถานที่ต่าง ๆ ของโลกอย่างคร่าว ๆ อย่างที่เคยปฏิบัติขึ้นมาในระยะแรก ๆ ภูมิศาสตร์ได้เปลี่ยนแนวทางมาสู่การศึกษารายละเอียดของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่นั้น ๆ โดยเฉพาะ ซึ่งจะใช้การศึกษานี้พิจารณาว่า "มีสิ่งใดบ้างที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดสิ่งนั้นสิ่งนี้ขึ้น และแต่ละสิ่งมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างไร" โดยถือรูปแบบและวิธีการดังกล่าวว่า เป็นการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์ ภายใต้สภาวะต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดลักษณะเฉพาะหรือเกิดปรากฏการณ์พิเศษในพื้นที่นั้น ๆ ขึ้น และถือว่าเป็น ปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์ ที่เกิดขึ้น ซึ่งมีหลายลักษณะ เช่น ปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะทางธรณีวิทยาของโลก ลักษณะทางสภาพภูมิอากาศ เป็นต้น โดยจะมีความเกี่ยวเนื่องและมีความสัมพันธ์ระหว่างกันในแต่ละลักษณะที่กล่าวถึง.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและภูมิศาสตร์
มหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัย (University) หมายถึง สถานศึกษาที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาทั้งในด้านวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงหลากหลายสาขาวิชา เพื่อให้ประกาศนียบัตร อนุปริญญา หรือปริญญา แก่ผู้สำเร็จการศึกษาในหลายระดับรวมถึง ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก รวมทั้งการทำการวิจัยและให้บริการทางวิชาการแก่สังคม.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยบูรพา
มหาวิทยาลัยบูรพา (Burapha University) สถาบันอุดมศึกษาของรัฐแห่งแรกที่ตั้งอยู่ในส่วนภูมิภาคของประเทศไทย ซึ่งในปัจจุบันเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐตั้งอยู่ที่ ตำบลแสนสุข อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและมหาวิทยาลัยบูรพา
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Mahasarakham University, อักษรย่อ: มมส - MSU) ตั้งอยู่ในจังหวัดมหาสารคาม ก่อกำเนิดจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (Rajabhat Maha sarakham University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในจังหวัดมหาสารคาม.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (Srinakharinwirot University; ชื่อย่อ: มศว - SWU) ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง" ซึ่งก่อตั้งเมื่อ..
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
มหาวิทยาลัยอีสาน
มหาวิทยาลัยอีสาน เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ตั้งอยู่จังหวัดขอนแก่น จัดตั้งขึ้นครั้งแรกในชื่อว่า "วิทยาลัยบัณฑิตบริหารธุรกิจ" เมื่อปี..
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและมหาวิทยาลัยอีสาน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยทักษิณ
"มหาวิทยาลัยทักษิณ" เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดสงขลา เดิมเป็นวิทยาเขตหนึ่งของ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ต่อมาได้รับการยกวิทยฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศ มีชื่อว่า "มหาวิทยาลัยทักษิณ" พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยทักษิณได้ผ่านกระบวนการตามกฎหมายครบทุกขั้นตอน และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและมหาวิทยาลัยทักษิณ
มหาวิทยาลัยนครพนม
มหาวิทยาลัยนครพนม เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลำดับที่ 78 ในประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนครพนม ที่เกิดจากการหลอมรวมสถานศึกษาในจังหวัดนครพนม ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนครพนม..
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและมหาวิทยาลัยนครพนม
มหาวิทยาลัยนเรศวร
มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ "มหาวิทยาลัยนเรศวร" นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน มหาวิทยาลัยนเรศวรได้รับการจัดอันดับในด้านการวิจัยให้เป็นมหาวิทยาลัยระดับดีเยี่ยมและเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 9 ของประเทศไทย จากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เมื่อปี พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและมหาวิทยาลัยนเรศวร
มนุษยศาสตร์
นักปรัชญาเพลโต มนุษยศาสตร์ (humanities) เป็นกลุ่มของสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการศึกษาสภาวะแห่งมนุษย์โดยส่วนใหญ่ใช้กรรมวิธีเชิงวิเคราะห์, วิจารณญาณ หรือการคาดการณ์ซึ่งแตกต่างจากการเข้าสู่ปัญหาด้วยกรรมวิธีเชิงประจักษ์ด้วยธรรมชาติ, สังคมศาสตร์ โดยธรรมเนียมทั่วไปมนุษยศาสตร์รวมถึงสาขาวิชาภาษาศาสตร์โบราณและภาษาศาสตร์สมัยใหม่, วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา ทัศนศิลป์ ศิลปะการแสดง และดนตรี บางครั้งมีการรวมเอาสาขาวิชาอื่นเพิ่มเข้าไปด้วย ได้แก่ มานุษยวิทยา ภูมิภาคศึกษา การสื่อสารและวัฒนธรรมศึกษา แม้ว่าสาขาวิชาเหล่านี้มักถูกจัดไว้ในสาขาสังคมศาสตร์ นักวิชาการที่อยู่ในสายของสาขาวิชานี้ บางครั้งอาจเรียกตนเองว่าเป็น "นักมนุษยนิยม" อย่างไรก็ตามคำดังกล่าวก็ได้ใช้เรียกนักปรัชญาสาขามนุษยนิยมแต่ก็ยังไม่เป็นที่ยอมรั.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและมนุษยศาสตร์
รัฐแคลิฟอร์เนีย
รัฐแคลิฟอร์เนีย (California,, แคลึฟอรฺนยะ) เป็นรัฐที่มีประชากรมากที่สุดในสหรัฐอเมริกาและมีพื้นที่ใหญ่สุดเป็นอันดับสาม ตั้งอยู่บนชายฝั่งตะวันตก (ติดมหาสมุทรแปซิฟิก) ของสหรัฐอเมริกา มีชายแดนติดกับรัฐแอริโซนา รัฐเนวาดาและรัฐออริกอน และมีชายแดนระหว่างประเทศติดต่อกับรัฐบาฮากาลิฟอร์เนียของประเทศเม็กซิโก เมืองหลวงรัฐ คือ แซคราเมนโต ลอสแอนเจลิสเป็นนครที่มีประชากรมากที่สุดของรัฐแคลิฟอร์เนีย และเป็นนครใหญ่สุดอันดับสองของประเทศรองจากนครนิวยอร์ก รัฐแคลิฟอร์เนียยังมีเคาน์ตีที่มีประชากรที่สุดของประเทศ คือ ลอสแอนเจลิสเคาน์ตี และมีพื้นที่มากที่สุด คือ แซนเบอร์นาร์ดีโนเคาน์ตี ภูมิศาสตร์หลากหลายของรัฐแคลิฟอร์เนียมีตั้งแต่ชายฝั่งแปซิฟิกทางทิศตะวันตกถึงเทือกเขาเซียร์ราเนวาดาทางทิศตะวันออก และตั้งแต่ป่าเรดวูด–สนดักลาสทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือจนถึงทะเลทรายโมฮาวีทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เซ็นทรัลแวลลี พื้นที่เกษตรกรรมหลัก กินพื้นที่ตอนกลางส่วนใหญ่ของรัฐ แม้รัฐแคลิฟอร์เนียจะขึ้นชื่อด้านภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนอบอุ่น แต่ขนาดที่ใหญ่หมายความว่าภูมิอากาศมีหลากหลายตั้งแต่ป่าฝนเขตอบอุ่นชื้นทางทิศเหนือ ถึงทะเลทรายแห้งแล้งด้านใน ตลอดจนแบบแอลป์หิมะในเขตภูเขา ทีแรกพื้นที่รัฐแคลิฟอร์เนียปัจจุบันมีชนเผ่าอเมริกันพื้นเมืองตั้งถิ่นฐานอยู่ก่อนมีการสำรวจของชาวยุโรปจำนวนหนึ่งระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ต่อมาจักรวรรดิสเปนอ้างสิทธิ์เป็นส่วนหนึ่งของอัลตาแคลิฟอร์เนียในอาณานิคมนิวสเปน พื้นที่ดังกล่าวกลายเป็นส่วนหนึ่งของเม็กซิโกใน..
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและรัฐแคลิฟอร์เนีย
ราชพฤกษ์
ผลของต้นราชพฤกษ์ ราชพฤกษ์ หรือ คูน ลมแล้ง ชัยพฤกษ์ เป็นไม้ดอกในตระกูล Fabaceae เป็นพืชพื้นเมืองของเอเชียใต้ ตั้งแต่ทางตอนใต้ของปากีสถาน ไปจนถึงอินเดีย ศรีลังกา พม่า และ ไทย ดอกราชพฤกษ์เป็นดอกไม้ประจำชาติไท.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและราชพฤกษ์
วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (อังกฤษ: College of Politics and Governance, Mahasarakham University) เป็นหน่วยงานที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม..
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและวิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
MUSIC MSU วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ (อังกฤษ: College of Music) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นหน่วยงานที่จัดการเรียนการสอนด้านดนตรี ดำเนินงานโดยยึดหลักปรัชญาของมหาวิทยาลัยมหาสารคามที่ว่า พหูนํ ปณฺฑิโตชีเว “ผู้มีปัญญาพึงเป็นอยู่เพื่อมหาชน” และหลักปรัชญาของวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ที่ว่า “สร้างคน สร้างจินตนาการ สร้างงานคุณภาพ” วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นวิทยาลัยดนตรีชั้นนำของประเทศ และในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นวิทยาดุริยางคศิลป์แห่งที่ 2 ของประเทศไทย วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาวิทยาลัยเพื่อความเป็นเลิศ 5 ด้าน คือ ด้านการจัดการเรียนการด้านสอน ด้านการวิจัย ด้านการบริการวิชาการสังคม ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และด้านการบริหารจัดการ ตลอดจนเป็นแนวทางในการดำเนินงานโดยอยู่ภายใต้ค่านิยม ของวิทยาลัยได้แก่ “MUSIC” เปิดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับเตรียมอุดมดนตรี จนถึงระดับปริญญาเอก มีสาขาวิชาที่หลากหลายครอบคลุมทุกเนื้อหาทางดนตรี ปัจจุบันเป็นวิทยาลัยที่จัดการเรียนการสอนด้านดนตรี เทียบเท่าคณะ แห่งเดียวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระดับเตรียมอุดมดนตรี.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ คำว่า "วิทยาศาสตร์" มักถูกใช้เพื่อแทนคำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษ แต่ถ้าจะกล่าวให้ตรงความหมายแล้ว เราใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์" เพื่อหมายถึง "Exact science" ซึ่งไม่รวมสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์เอาไว้ แม้ว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน การแบ่งแยกดังกล่าวมีขึ้นเนื่องจากความแตกต่างในด้านเนื้อหาและธรรมชาติของการศึกษา มิใช่เรื่องของความจริงหรือความถูกต้องแต่อย่างใด คำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษจะมีความหมายเทียบเท่ากับคำว่า "ศาสตร์" หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์สุขภาพ
วิทยาศาสตร์สุขภาพ คือ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ที่ศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพของมนุษย์และสัตว์ วิทยาศาสตร์สุขภาพสามารถแบ่งออกได้ 2 ส่วน ส่วนแรก คือ การศึกษา วิจัย และความรู้ที่เกี่ยวกับสุขภาพ ส่วนที่ 2 คือ การนำความรู้ดังกล่าวมาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาสุขภาพ, รักษาโรค และทำความเข้าใจการทำงานของร่างกายมนุษย์และสัตว์ งานวิจัยด้านนี้วางอยู่บนฐานของชีววิทยา, เคมี และฟิสิกส์ รวมไปถึงความรู้ด้านสังคมศาสตร์ เช่น สังคมวิทยาการแพท.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและวิทยาศาสตร์สุขภาพ
วิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์, ปริญญานิพนธ์ หรือ ดุษฎีนิพนธ์ (thesis หรือ dissertation) เป็นเอกสารที่เขียนโดยนักวิจัย นักศึกษา หรือนักวิชาการ พรรณนาขั้นตอน วิธีการ และผลการศึกษาวิจัยที่ค้นคว้าวิจัยมาได้ โดยเขียนอย่างเป็นระบบ มีแบบแผน สำหรับนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา วิทยานิพนธ์เป็นเอกสารบังคับในการจบการศึกษา สำหรับนักวิจัยหรือนักวิชาการจะใช้เป็นเอกสารในการเลื่อนตำแหน่งทางวิชาการ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและวิทยานิพนธ์
สภานิติบัญญัติ
นิติบัญญัติเป็นสภาปรึกษาหารือชนิดหนึ่งซึ่งมีอำนาจผ่าน แก้ไขเพิ่มเติมและยกเลิกกฎหมาย กฎหมายที่เกิดจากสภานิติบัญญัติเรียก กฎหมายลายลักษณ์อักษร นอกเหนือไปจากการตรากฎหมายแล้ว สภานิติบัญญัติยังมีอำนาจสิทธิ์ขาดในการเพิ่มหรือลดภาษีและมีมติเห็นชอบงบประมาณและร่างกฎหมายเกี่ยวด้วยการเงินอื่น สภานิติบัญญัติมีหลายชื่อ ที่พบมากที่สุด คือ รัฐสภาและคองเกรส (congress) โดยสองคำนี้มีความหมายจำเพาะกว่า ในการปกครองระบบรัฐสภา ฝ่ายบริหารรับผิดชอบต่อสภานิติบัญญัติซึ่งอาจถอดถอนฝ่ายบริหารได้ด้วยการอภิปรายไม่ไว้วางใจ ในระบบประธานาธิบดี ตามลัทธิการแยกใช้อำนาจ สภานิติบัญญัติถูกมองว่าเป็นอิสระและเป็นการปกครองแขนงหนึ่งซึ่งเสมอกับฝ่ายตุลาการและฝ่ายบริหาร องค์ประกอบหลักของสภานิติบัญญัติ คือ มีตั้งแต่หนึ่งสภา (chamber/house) เป็นต้นไป สภา คือ การประชุมซึ่งสามารถอภิปรายและลงมติในร่างกฎหมายได้ สภานิติบัญญัติซึ่งมีสภาเดียว เรียก สภาเดียว ส่วนสภานิติบัญญัติที่มีสองสภา เรียก ระบบสองสภา ซึ่งปกติอธิบายเป็นสภาสูงและสภาล่าง โดยมักมีหน้าที่อำนาจและวิธีการเลือกสมาชิกต่างกัน นอกจากนี้ ยังมีสภานิติบัญญัติที่มีมากกว่าสองสภา แต่ไม่ค่อยพบ ในระบบรัฐสภาส่วนมาก สภาล่างเป็นสภาที่มีอำนาจกว่า ขณะที่สภาสูงเป็นเพียงสภาให้คำปรึกษาหรือทบทวน อย่างไรก็ดี ในระบบประธานาธิบดี อำนาจของสองสภามักคล้ายหรือเท่ากัน ในสหพันธรัฐ สภาสูงมักเป็นตัวแทนของรัฐที่มารวมกัน (component state) ซึ่งรวมถึงสภานิติบัญญัติเหนือชาติของสหภาพยุโรปด้วย ด้วยจุดประสงค์นี้ สภาสูงอาจมีผู้แทนจากรัฐบาลของรัฐ ดังเช่นในกรณีสหภาพยุโรปและเยอรมนี หรือมาจากการเลือกตั้งตามสูตรซึ่งให้การมีผู้แทนเท่าเทียมกันแก่รัฐซึ่งมีประชากรน้อยกว่า เช่นในกรณีออสเตรเลียและสหรัฐอเมริกาปัจจุบัน.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและสภานิติบัญญัติ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สังคมศาสตร์
กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ (social science) คือ สาขาวิชาที่ใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เพื่อศึกษาโลกในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ หน่วยสังคมต่าง ๆ ของมนุษย์ รวมทั้งพฤติกรรมของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ วิชาในสังคมศาสตร์แตกต่างจากวิชาในกลุ่มมนุษยศาสตร์ เนื่องจากหลาย ๆ สาขาวิชาในสังคมศาสตร์เน้นการหาความรู้และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการดำเนินพฤติกรรมของมนุษย์และปรากฏการณ์ทางสังคมด้วยกระบวนการแบบปฏิฐานและประจักษ์นิยม ทั้งเชิงปริมาณ (quantitative method) และเชิงคุณภาพ (qualitative method) อย่างเป็นวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ตาม บางสาขาก็อาจจะนำระเบียบวิธีเชิงคุณภาพแบบการตีความ การคาดการณ์ วิเคราห์ตามหลักปรัชญาและตรรกะ หรือความเชื่อส่วนบุคคล และการวิจารณ์มาใช้ในการอธิบายพฤติกรรมในบางกรณีที่เหมาะสมหากจำเป็น อย่างไรก็ตาม ระเบียบวิธีการศึกษาทางสังคมศาสตร์แบบใหม่ได้รับอิทธิพลจากสังคมศาสตร์แบบอเมริกันอย่างมาก ทำให้การศึกษาแบบปฏิฐานนิยมได้รับความนิยมและการยอมรับมากกว่าระเบียบวิธีแบบเก่าที่คล้ายคลึงกับสาขามนุษยศาสตร์ พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (2529: 129) ทรงกล่าวถึงความหมายของสังคมศาสตร์และขอบเขตของการศึกษาวิชานี้ไว้ว่า สังคมศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตของมนุษย์ในทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ตามความเป็นจริง สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและสังคมศาสตร์
สังคมศึกษา
ังคมศึกษา (Social Studies) เป็นศาสตร์บูรณาการทางด้านสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ รวมทั้งประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์และศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยนักการศึกษาชาวอเมริกันเป็นผู้คิดค้นและให้นิยามของสังคมศึกษาเป็นครั้งแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ซึ่งมีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำรงชีวิตของมนุษย์ การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้คนและระหว่างคนกับสิ่งแวกล้อม รวมไปถึงการรู้จัดอดทน อดกลั้น ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล อันจะส่งผลให้ผู้เรียนสามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข เป็นพลเมืองที่ดีของประเทศและโลกต่อไปวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, สำนัก.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและสังคมศึกษา
สาโรช บัวศรี
ตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี ศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง ปัจจุบันคือ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาต.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและสาโรช บัวศรี
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว. หรือ TRF) เป็นองค์การมหาชน ประเภทจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติเฉพาะ ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)
ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา: สกอ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)
สุดใจ เหล่าสุนทร
ตราจารย์ สุดใจ เหล่าสุนทร อดีตอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษา และอธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒคนแรก และอดีตผู้อำนวยการโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและสุดใจ เหล่าสุนทร
สีมา
ีมา แปลว่า เขต, แดน, เครื่องหมายบอกเขต ใช้ว่า เสมา ก็มี สีมา หมายถึงเขตหรือแดนที่กำหนดไว้สำหรับทำสังฆกรรมต่างๆ กำหนดเขตแดนด้วยเครื่องหมายบอกเขตที่เรียกว่า นิมิต ที่เหนือนิมิตนิยมสกัดหินเป็นแผ่นประดิษฐานไว้ในซุ้มที่สร้างครอบนิมิต ถือเป็นสัญลักษณ์แทนนิมิต เรียกแผ่นหินนั้นว่า ใบสีมา หรือ ใบเสมา เรียกซุ้มนั้นว่า ซุ้มสีมา หรือ ซุ้มเสมา ใบสีมา นิยมทำด้วยแผ่นหินสกัดเป็นแผ่นหนาประมาณ 5-7.5 เซนติเมตร มีรูปทรงเฉพาะ บางแห่งสกัดเป็นลายเส้นรูปธรรมจักรเพิ่มความสวยงาม ประดิษฐานไว้ในซุ้มที่สร้างคร่อมนิมิตทั้ง 8 ทิศของโบสถ์ คล้ายเป็นสัญลักษณ์แทนนิมิต ถ้าเป็นวัดราษฎร์นิยมทำซุ้มละแผ่นเดียว ถ้าเป็นวัดหลวงนิยมทำซุ้มละสองแผ่นเรียกว่า สีมาคู่ นัยว่าเพื่อเป็นข้อสังเกตให้ทราบว่าเป็นวัดราษฎร์หรือวัดหลวง สีมา ยังหมายถึงอุโบสถได้ด้ว.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและสีมา
สีเหลือง
ีเหลือง เป็น 1 ใน 3 แม่สี ร่วมกับสีแดง และสีน้ำเงิน โดยปกติสีจะมีอยู่สองโทน คือ สีโทนร้อน และ สีโทนเย็น แต่สีเหลืองเป็นสีที่อยู่ตรงกลางระหว่าง สีโทนร้อน และ สีโทนเย็น จึงสามารถเลือกใช้สีเหลืองเข้าไปผสมผสานได้กับสีทั้งสองโทน ซึ่งนอกจากสีเหลืองแล้วยังมีสีม่วงอีกสีหนึ่งที่มีลักษณะดังกล่าว.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและสีเหลือง
สีเทา
ีเทา เป็นสีที่อยู่ระหว่างสีขาวและสีดำซึ่งเป็นสีที่ไม่มีสีสัน สีเทาในภาษาอังกฤษสะกดได้สองอย่างคือ grey (อังกฤษบริเตน) และ gray (อังกฤษอเมริกัน) ไทยสมัยโบราณมีคำเรียก "สีเหล็ก" หมายถึงสีเทาออกดำ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและสีเทา
สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
้รับรางวัลโนเบลมาก แห่งหนึ่งในโลก สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ หรือ มหาวิทยาลัยรัฐ คือ สถาบันอุดมศึกษาที่ได้รับอุดหนุนงบประมาณส่วนใหญ่จากรัฐ โดยผ่านรัฐบาลกลางหรือรัฐบาลท้องถิ่น ในประเทศไทย หมายถึงสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (เดิมคือ ทบวงมหาวิทยาลัย) ประกอบด้วยทั้ง มหาวิทยาลัยจำกัดรับในระบบราชการ เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ฯลฯ มหาวิทยาลัยจำกัดรับนอกระบบราชการ (สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล) เช่น มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยไม่จำกัดรับ ได้แก่ มหาวิทยาลัยรามคำแหง และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในสหรัฐอเมริกา วิธีการสมัครเข้าเรียนใน มหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยเอกชน ไม่แตกต่างกัน สิ่งที่แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดคือค่าเรียน ชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการของกลุ่มมหาวิทยาลัยรัฐชั้นนำในสหรัฐอเมริกาคือ พับลิกไอวี โดยเปรียบเทียบกับ ไอวีลีก ซึ่งเป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยเอกชนชั้นนำ ในสหราชอาณาจักร สถาบันอุดมศึกษาเกือบทั้งหมดเป็นมหาวิทยาลัยรัฐ ยกเว้นเพียงแห่งเดียว คือมหาวิทยาลัยบัคกิ้งแฮม.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
สงครามโลกครั้งที่สอง
งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและสงครามโลกครั้งที่สอง
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
ตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538) บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยวิชาการศึกษาและผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย
อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยในที่นี้ เป็นการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทยโดยหน่วยงานของไทยเอง และนิตยสารของต่างประเทศ สำหรับหน่วยงานของไทย ในปี พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย
อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)
ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรที่สี่ในยุคประวัติศาสตร์ของไทย เริ่มตั้งแต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่งกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน..
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)
อาณาจักรอยุธยา
ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรธนบุรี
อาณาจักรธนบุรี เป็นอาณาจักรที่มีระยะเวลาสั้นที่สุดของไทย คือระหว่าง..
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและอาณาจักรธนบุรี
อำเภอกันทรวิชัย
กันทรวิชัย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดมหาสารคาม มีพื้นที่ใหญ่เป็นเป็นดับ 7 และมีประชากรมากเป็นอันดับ 6 ของจังหวั.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและอำเภอกันทรวิชัย
อำเภอเมืองมหาสารคาม
มืองมหาสารคาม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดมหาสารคาม เป็นอำเภอที่มีประชากรมากที่สุดและที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 4 ของจังหวัด รองจาก อำเภอโกสุมพิสัย อำเภอบรบือ และอำเภอวาปีปทุม เป็นอำเภอศูนย์กลางทางการปกครอง การคมนาคม การศึกษา การแพทย์ อุตสาหกรรม และเศรษฐกิจของจังหวัดมหาสารคาม.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและอำเภอเมืองมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคาม
มหาสารคาม เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางของประเทศไทย ซึ่งตั้งอยู่กึ่งกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและจังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดอุบลราชธานี
อุบลราชธานี เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและของประเทศไทย ทั้งยังเป็นตำบลที่ตั้งของเส้นเวลาหลักของประเทศ ที่เส้นแวง 105 องศาตะวันออก โดยเป็นจังหวัดแรกที่ได้เห็นดวงอาทิตย์ก่อนพื้นที่อื่น ๆ ทั่วประเทศ จังหวัดอุบลราชธานีเป็นเมืองใหญ่ริมฝั่งแม่น้ำมูลที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมากว่า 200 ปี มีพื้นที่กว้างใหญ่ ภายหลังถูกแบ่งออกเป็นจังหวัดใหม่คือจังหวัดยโสธรในปี พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและจังหวัดอุบลราชธานี
จังหวัดขอนแก่น
ังหวัดขอนแก่น เป็นจังหวัดที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นจังหวัดศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เมืองขอนแก่นตั้งอยู่ในจุดที่ถนนมิตรภาพ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก) ตัดผ่าน ซึ่งเป็นเส้นทางสำคัญอีกเส้นหนึ่งในการเดินทางจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางเข้าไปสู่ภาคเหนือตอนล่างที่อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ และเดินทางเข้าสู่ประเทศลาวทางด้านทิศใต้ของลาว อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดอุดรธานี ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดมหาสารคามและจังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศใต้ติดกับจังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันตกติดกับจังหวัดชัยภูมิและจังหวัดเพชรบูรณ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและจังหวัดขอนแก่น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คลองแสนแสบ
รือด่วนในคลองแสนแสบ คลองแสนแสบ เป็นคลองที่ขุดขึ้นตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) เพื่อเชื่อมแม่น้ำเจ้าพระยากับแม่น้ำบางปะกงเข้าด้วยกัน เมื่อปี พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและคลองแสนแสบ
คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตั้งอยู่ที่ตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม (ม.ใหม่).
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและคณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
คณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นหน่วยงานในกำกับของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยการยกร่างหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.)สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม(หลักสูตร 4 ปี) ในปีพุทธศักราช 2543-2544 ภายใต้ชื่อ "โครงการจัดตั้งคณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม" เปิดรับนิสิตรุ่นแรก ในระบบพิเศษและระบบพิเศษโดยวิธีเทียบเข้า ในเดือนมิถุนายน 2544.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและคณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นคณะแรกเริ่มที่อนุมัติให้มีการจัดตั้งคณะขึ้นภายใต้การดูแลของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตมหาสารคาม เป็นคณะที่จัดตั้งขึ้นโดยการยุบรวมกันระหว่าง 2 คณะ คือ คณะมนุษยศาสตร์กับคณะสังคมศาสตร์ภายหลังจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาสารคาม เปลี่ยนสถานะภาพเป็นมหาวิทยาลัยมหาสารคามในปี 2537 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีการบริหารจัดการและแบ่งส่วนราชการแยกเป็นภาควิชาและสำนักงานเลขานุการ ในส่วนภาควิชาแบ่งเป็น 5 ภาควิชา คือ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
คณะรัฐมนตรี
ณะรัฐมนตรี (council of ministers หรือ cabinet) มีอำนาจหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน ให้เป็นไปตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา ตามรัฐธรรมนูญ และกฎหมาย อันประกอบด้วย หัวหน้าคณะ 1 คน ซึ่งมักเรียกว่า นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีอื่น ตามจำนวนที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและคณะรัฐมนตรี
คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นคณะทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ก่อตั้งอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและคณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นหน่วยงานระดับคณะของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทำการเปิดในระดับปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก มีหลักทั้งหมด 20 หลักสูตร และหลักสูตรนานาชาติ 2 หลักสูตร.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นคณะที่กล่าวได้ว่ามีรากฐานการกำเนิดมาพร้อมกับการกำเนิดวิทยาลัยวิชาการศึกษามหาสารคาม เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2511 เพราะวิทยาลัยวิชาการศึกษา ได้ก่อตั้งขึ้นมาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตครูในสาขาวิชาต่าง ๆ ออกไปเป็นครูตามโรงเรียนโดยทั่วไปในแถบพื้นที่ภาคอีสาน วันที่ 29 มิถุนายน 2517 วิทยาลัยวิชาการศึกษามหาสารคาม ได้ยกฐานะขึ้นเป็น "มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม" และในวันที่ 9 ธันวาคม 2537 ได้แยกตัวเป็นเอกเทศจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เป็น "มหาวิทยาลัยมหาสารคาม" ซึ่งคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามก็ได้ถูกยกฐานะเป็น "คณะ" อย่างสมบูรณ์เช่นเดียวกับคณะต่างๆ ในมหาวิทยาลัยอื่น.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ณะสัตวแพทยศาสตร์ (มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นคณะสัตวแพทยศาสตร์ ในจังหวัดมหาสารคาม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เริ่มก่อตั้งเมื่อปี..
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2546 ที่ตั้งปัจจุบันตั้งอยู่ที่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (เขตพื้นที่ในเมือง) ตำบลตลาด อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ก่อตั้งเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542 โดยสภามหาวิทยาลัยมหาสารคาม มีมติให้จัดตั้งคณะเภสัชศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพขึ้น เป็นหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย นับเป็นคณะเภสัชศาสตร์ ลำดับที่ 12 ของประเทศไทย และเป็นลำดับที่ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีศาสตราจารย์อาร์เอ็มอี ริชาร์ด(Prof.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (อังกฤษ: Faculty of Technology, Mahasarakham University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและคณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
คณิตศาสตร์
ยูคลิด (กำลังถือคาลิเปอร์) นักคณิตศาสตร์ชาวกรีก ในสมัย 300 ปีก่อนคริสตกาล ภาพวาดของราฟาเอลในชื่อ ''โรงเรียนแห่งเอเธนส์''No likeness or description of Euclid's physical appearance made during his lifetime survived antiquity.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและคณิตศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ (history; รากศัพท์ภาษากรีก ἱστορία หมายถึง "การสอบถามหาความรู้ที่ได้มาโดยการสอบสวน") เป็นการค้นพบ ค้นหา รวบรวม จัดระเบียบและนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีตประวัติศาสตร์ยังอาจหมายถึงช่วงเวลาหลังมีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้น นักวิชาการผู้เขียนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์เรียกนักประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์เป็นสาขาการวิจัยซึ่งใช้การบรรยายเพื่อพิจารณาและวิเคราะห์ลำดับของเหตุการณ์ และบางครั้งพยายามสอบสวนรูปแบบของเหตุและผลซึ่งมีอิทธิพลต่อเหตุการณ์อย่างยุติธรรม นักประวัติศาสตร์ถกเถียงกันเรื่องธรรมชาติของประวัติศาสตร์และประโยชน์ของมัน ซึ่งรวมทั้งถกเถียงการศึกษาสาขาวิชาเป็นจุดจบในตัวมันเองและเป็นเสมือนวิถีการให้ "มุมมอง" ต่อปัญหาในปัจจุบันp 52 เรื่องเล่าซึ่งเป็นสิ่งธรรมดาในวัฒนธรรมใดวัฒนธรรมหนึ่ง แต่ไม่มีการสนับสนุนจากแหล่งข้อมูลภายนอก (เช่น ตำนานเกี่ยวกับกษัตริย์อาเธอร์) มักจัดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมมากกว่า "การสอบสวนอย่างไม่นำพา" ที่จำเป็นตามสาขาประวัติศาสตร์ เหตุการณ์ในอดีตก่อนมีบันทึกลายลักษณ์อักษรเรียกว่า ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ในบรรดานักวิชาการ นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล เฮโรโดตัส ถูกพิจารณาว่าเป็น "บิดาแห่งประวัติศาสตร์" เขาร่วมกับธูซิดดิดีส0 นักประวัติศาสตร์ร่วมสมัย ก่อตั้งรากฐานของการศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ อิทธิพลของพวกเขา ร่วมกับแบบแผนทางประวัติศาสตร์อื่นในส่วนอื่นของโลก ได้ก่อให้เกิดการตีความธรรมชาติของประวัติศาสตร์ไปต่าง ๆ นานา ซึ่งได้วิวัฒนามาเป็นเวลาหลายศตวรรษและยังมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ในปัจจุบัน การศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่มีหลายสาขา รวมทั้งสาขาที่มุ่งศึกษาภูมิภาคหนึ่งโดยเฉพาะ และสาขาที่มุ่งศึกษาองค์ประกอบเฉพาะหัวข้อหรือใจความของการสอบสวนประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์มักสอนเป็นส่วนหนึ่งในการศึกษาขั้นประถมและมัธยม และการศึกษาวิชาการประวัติศาสตร์เป็นสาขาหลักในระดับอุดมศึกษ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและประวัติศาสตร์
ประถมศึกษา
ประถมศึกษา (ย่อว่า ป.; elementary education; primary education) เป็นลำดับการศึกษาขั้นที่ 2 ถัดจากการศึกษาปฐมวัย และแบ่งเป็น 2 ช่วงชั้น คือ ช่วงประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงประถมศึกษาปีที่ 3 เรียกว่าประถมศึกษาตอนต้น (มักเรียกโดยย่อว่า ป.ต้น) เทียบเท่ากับ grade 1-3 และช่วงประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงประถมศึกษาปีที่ 6 เรียกว่าประถมศึกษาตอนปลาย (มักเรียกโดยว่า ป.ปลาย) เทียบเท่ากับ grade 4-6.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและประถมศึกษา
ปัญญา ถนอมรอด
นายปัญญา ถนอมรอด (1 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 -) อดีตประธานศาลฎีกา(คนแรกของไทยที่เกิดรัชกาลที่ 9) และอดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ผู้พิพากษาอาวุโสในศาลอุทธรณ์ภาค 1 และกรรมการกฤษฎีก.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและปัญญา ถนอมรอด
นิติศาสตร์
นิติศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและนิติศาสตร์
แม่น้ำเจ้าพระยา
แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและแม่น้ำเจ้าพระยา
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นหน่วยงานหนึ่งของ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยเป็นโรงเรียนสาธิตเพียงแห่งเดียวในประเทศไทยที่มิได้สังกัดคณะศึกษาศาสตร์ แบ่งออกเป็น 2 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายประถม) และโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) โดยจัดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงระดับมัธยมศึกษา ซึ่งมีเป้าหมายหลักในการให้สวัสดิการทางการศึกษาแก่บุตรของบุคลากร และเป็นโรงเรียนทดลองเพื่อศึกษาวิจัยการเรียนการสอน ปัจจุบันโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นหน่วยงานขึ้นตรงต่อ สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตั้งอยู่ 2 แห่งภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้แก.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)
รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) (Mahasarakham University Demonstration School (Secondary); อักษรย่อ: สธมมส.(ฝ่ายมัธยม)) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายประถม)
รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม(ฝ่ายประถม) Mahasarakham University Demonstration School (Elementary) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2547 โดยตั้งอยู่บริเวณมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เขตพื้นที่ในเมือง ตำบลตลาด อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายประถม)
เทคโนโลยี
นาโนเทคโนโลยีเป็นที่สนใจในศตวรรษปัจจุบัน เทคโนโลยี หรือ เทคนิควิทยา มีความหมายค่อนข้างกว้าง โดยทั่วไปหมายถึงธรรมชาติวิทยาและต่อเนื่องมาถึงวิทยาศาสตร์ มาเป็นวิธีการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ อันก่อให้เกิดวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร แม้กระทั่งองค์ความรู้นามธรรมเช่น ระบบหรือกระบวนการต่าง ๆ เพื่อให้การดำรงชีวิตของมนุษย์ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิร.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและเทคโนโลยี
เขตพระนคร
ตพระนคร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร เนื่องจากมีสถานที่สำคัญทั้งทางด้านวัฒนธรรมและด้านการเมืองการปกครองตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเขตพระนครเป็นที่ตั้งของเกาะรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและเขตพระนคร
เขตพระโขนง
ตพระโขนง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและเขตพระโขนง
เคมี
มี (chemistry) เป็นวิทยาศาสตร์สาขาหนึ่งที่ศึกษาในเรื่องของสสาร โดยไม่เพียงแต่ศึกษาเฉพาะในเรื่องของปฏิกิริยาเคมี แต่ยังรวมถึงองค์ประกอบ โครงสร้างและคุณสมบัติของสสารอีกด้วย การศึกษาทางด้านเคมีเน้นไปที่อะตอมและปฏิสัมพันธ์ระหว่างอะตอมกับอะตอม และโดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณสมบัติของพันธะเคมี บางครั้ง เคมีถูกเรียกว่าเป็นวิทยาศาสตร์ศูนย์กลาง เพราะเป็นวิชาช่วยที่เชื่อมโยงฟิสิกส์เข้ากับวิทยาศาสตร์ธรรมชาติสาขาอื่น เช่น ธรณีวิทยาหรือชีววิทยา ถึงแม้ว่าเคมีจะถือเป็นสาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์กายภาพแต่ก็มีความแตกต่างจากวิชาฟิสิกส์ค่อนข้างมาก มีการถกเถียงกันอย่างมากมายถึงต้นกำเนิดของเคมี สันนิษฐานว่าเคมีน่าจะมีต้นกำเนิดมาจากการเล่นแร่แปรธาตุซึ่งเป็นที่นิยมกันมาอย่างยาวนานหลายสหัสวรรษในหลายส่วนของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในตะวันออกกลาง.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและเคมี
27 มีนาคม
วันที่ 27 มีนาคม เป็นวันที่ 86 ของปี (วันที่ 87 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 279 วันในปีนั้น.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและ27 มีนาคม
9 ธันวาคม
วันที่ 9 ธันวาคม เป็นวันที่ 343 ของปี (วันที่ 344 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 22 วันในปีนั้น.
ดู มหาวิทยาลัยมหาสารคามและ9 ธันวาคม
ดูเพิ่มเติม
จังหวัดมหาสารคาม
- จังหวัดมหาสารคาม
- มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
- เขตมิสซังอุบลราชธานี
สถาบันการศึกษาที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2511
- มหาวิทยาลัยทักษิณ
- มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ม.มหาสารคามมมสมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตมหาสารคาม