เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

มฤตยู มูนแรคเกอร์และเจมส์ บอนด์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง มฤตยู มูนแรคเกอร์และเจมส์ บอนด์

มฤตยู มูนแรคเกอร์ vs. เจมส์ บอนด์

หน้าปกหนังสือนวนิยาย Moonraker ที่ตีพิมพ์ปี พ.ศ. 2506 โดย Pan ภาพหน้าปกหนังสือนวนิยาย Moonraker ที่ตีพิมพ์ปี พ.ศ. 2512 โดย Pan Books ภาพหน้าปกหนังสือนวนิยาย Moonraker ที่ตีพิมพ์ปี พ.ศ. 2545 โดย Penguin Books มฤตยู มูนแรคเกอร์ (Moonraker) ในที่นี้หมายถึง ชื่อนวนิยายเรื่องที่ 3 ในนวนิยายชุด เจมส์ บอนด์ ที่ เอียน เฟลมมิ่ง เป็นผู้ประพันธ์ขึ้น เป็นนวนิยายประเภทสายลับ/จารกรรม ตีพิมพ์ออกจำหน่ายครั้งแรกในวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2498 โดยสำนักพิมพ์ โจนาธาน เคป และตามด้วยอีกมากมายหลายสำนักพิมพ์ มีการพิมพ์ออกจำหน่ายครั้งแล้วครั้งเล่า ลิขสิทธิ์ในการพิมพ์จำหน่ายถูกซื้อขายเป็นทอดๆไปหลายสำนักพิมพ์ จนถึงปัจจุบันนี้สำนักพิมพ์ที่ถือลิขสิทธิ์คือสำนักพิมพ์ เพนกวินบุ๊คส์ เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับภารกิจของบอนด์ที่ให้ไปสืบราชการลับจากการที่อังกฤษถูกขโมยยานกระสวยอวกาศชื่อ มูนเรเกอร์ ไป. มส์ บอนด์ (James Bond) เป็นตัวละครสมมติ สร้างโดย เอียน เฟลมมิ่ง เมื่อปี พ.ศ. 2496 ซึ่งปรากฏอยู่ในนวนิยาย 12 ตอนและรวมเรื่องสั้นอีก 2 เล่ม ต่อมาหลังจากเขาเสียชีวิตในปี พ.ศ. 2507 มีนักประพันธ์อีกหลายคนได้สิทธิ์ในการประพันธ์ เจมส์ บอนด์ ต่อ ได้แก่ คิงส์ลีย์ เอมิส, คริสโตเฟอร์ วูด, จอห์น การ์ดเนอร์, เรย์มอนด์ เบ็นสัน, เซบาสเตียน ฟอล์ค, เจฟฟรีย์ ดีฟเวอร์ และ วิลเลียม บอยด์ นอกจากนี้ยังมีผลงานประพันธ์ของ ชาร์ลี ฮิกสัน ในชุด ยังบอนด์ และ เคต เวสต์บรูค ประพันธ์ในรูปแบบไดอารีของตัวละคร มิสมันนีเพนนี เจมส์ บอนด์ ยังได้ถูกดัดแปลงออกมาเป็นสื่อต่างๆ เช่น ละครโทรทัศน์, ละครวิทยุ, การ์ตูน, วิดีโอเกมและภาพยนตร์ ซึ่งประสบความสำเร็จอย่างมากทั่วโลก โดยเป็นภาพยนตร์ชุดที่ทำเงินสูงสุดอันดับที่ 4 เริ่มจากเรื่อง พยัคฆ์ร้าย 007 (Dr.No) เมื่อปี พ.ศ. 2505 โดยมี ฌอน คอนเนอรี รับบท เจมส์ บอนด์ ปัจจุบันออกฉายแล้วทั้งหมด 24 ภาค ผลิตโดย อีโอเอ็น โปรดักชันส์ ภาคล่าสุด ชื่อว่า องค์กรลับดับพยัคฆ์ร้าย (Spectre) แดเนียล เคร็ก เป็นเจมส์ บอนด์ ครั้งที่ 4 และเป็นคนที่ 6 ที่รับบทนี้ นอกจากนี้ยังมีภาพยนตร์ที่ไม่ใช่ของ อีโอเอ็น คือ ทีเด็ดเจมส์บอนด์ 007 (Casino Royale) เมื่อปี พ.ศ. 2510 เดวิด นิเวน เป็นเจมส์ บอนด์ และ พยัคฆ์เหนือพยัคฆ์ (Never Say Never Again) เมื่อปี พ.ศ. 2526 ซึ่งเป็นการรีเมค ธันเดอร์บอลล์ 007 (Thunderball) โดย ฌอน คอนเนอรี กลับมารับบทเป็นเจมส์ บอนด์ อีกครั้ง ตัวเลข 007 ที่อยู่ท้ายชื่อของเจมส์ บอนด์ หมายถึงรหัสลับประจำตัวที่ใช้เรียกแทนตัวเขาในฐานะของสายลับคนหนึ่ง โดยเลข 00 ที่นำหน้าเลข 7 อยู่นั้น ถือเป็นสัญลักษณ์ที่แจ้งให้ทราบว่า ตัวเขาเป็นสายลับที่ได้รับอนุญาตให้สามารถสังหารชีวิตผู้อื่นได้โดยไม่ผิดกฎหมายสมเกียรติ อ่อนวิมล.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง มฤตยู มูนแรคเกอร์และเจมส์ บอนด์

มฤตยู มูนแรคเกอร์และเจมส์ บอนด์ มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ลิฟแอนด์เล็ตดายเอียน เฟลมมิงDiamonds Are Forever (นวนิยาย)

ลิฟแอนด์เล็ตดาย

หน้าปกหนังสือ Live and Let Die ที่พิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2508 โดยแพนบุ๊คส์ หน้าปกหนังสือ Live and Let Die ที่พิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2545 โดย เพนกวินบุ๊คส์ Live And Let Die เป็นนวนิยายเรื่องที่ 2 ในนวนิยายชุด เจมส์ บอนด์ ที่ เอียน เฟลมมิ่ง แต่งขึ้น พิมพ์จำหน่ายครั้งแรกใน พ.ศ. 2497 และจนถึงปัจจุบัน มีการตีพิมพ์จำหน่ายไปแล้วหลายครั้ง จากหลายสำนักพิมพ์ที่ซื้อลิขสิทธิ์ต่อกันเป็นทอดๆ เช่น โจนาธาน เคป (Jonathan Cape) ที่เป็นบริษัทและสำนักพิมพ์ที่พิมพ์จำหน่ายเป็นสำนักพิมพ์แรก และตามด้วย แม็คมิลลัน (Macmillan), เปอร์มาบุ๊คส์ (Permabooks), แพนบุ๊คส์ (Pan Books), ไทรแอด/แพนเทอร์ (Triad/Panther), ไทรแอด/แกรนาด้า (Triad/Granada), โคโรเน็ตบุ๊คส์ (Coronet Books), วิคิง/เพ็นกวิน (Viking/Penguin) และ เพนกวินบุ๊คส์ (Penguin Books) ตามลำดั.

มฤตยู มูนแรคเกอร์และลิฟแอนด์เล็ตดาย · ลิฟแอนด์เล็ตดายและเจมส์ บอนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เอียน เฟลมมิง

อียน แลนแคสเตอร์ เฟลมมิง (Ian Lancaster Fleming) เป็นนักประพันธ์ชาวอังกฤษ เจ้าของนวนิยายเรื่อง เจมส์ บอนด์ 007 ซึ่งต่อมามีการนำไปสร้างเป็นการ์ตูน และภาพยนตร์อีกมากมาย เกิดเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908) ณ บ้านเลขที่ 7 ถนนกรีนสตรีท เมืองเมย์แฟร์ ลอนดอน สหราชอาณาจักร เรียนภาษาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยมิวนิค และมหาวิทยาลัยเจนิวา จากนั้นได้เป็นนักข่าวของศูนย์ข่าวรอยเตอร์ส (Reuters news service) ซึ่งเคยส่งเขาไปทำข่าวจารกรรมที่รัสเซี.

มฤตยู มูนแรคเกอร์และเอียน เฟลมมิง · เจมส์ บอนด์และเอียน เฟลมมิง · ดูเพิ่มเติม »

Diamonds Are Forever (นวนิยาย)

หน้าปกนวนิยาย Diamonds Are Forever ที่ตีพิมพ์ใน พ.ศ. 2505 โดยสำนักพิมพ์ แพนบุ๊คส์ (Pan Books) ภาพหน้าปกนวนิยาย Diamonds Are Forever ที่ตีพิมพ์ใน พ.ศ. 2507 โดยสำนักพิมพ์ แพนบุ๊คส์ (Pan Books) ภาพหน้าปกนวนิยาย Diamonds Are Forever ที่ตีพิมพ์ใน พ.ศ. 2545 โดยสำนักพิมพ์ เพนกวินบุ๊คส์ (Penguin Books) Diamonds Are Forever ในที่นี้ หมายถึง ชื่อนวนิยายเรื่องยาวเรื่องที่ 4 ในนวนิยายเรื่องยาวชุด เจมส์ บอนด์ ที่ เอียน เฟลมมิ่ง เป็นผู้ประพันธ์ขึ้น ตีพิมพ์จำหน่ายครั้งแรกใน พ.ศ. 2499 โดยสำนักพิมพ์โจนาธาน เคป (Jonathan Cape) เป็นสำนักพิมพ์แรกที่ถือลิขสิทธิ์ในการผลิตและจัดจำหน่าย ต่อมาลิขสิทธิ์ในการผลิตและจัดจำหน่ายก็ถูกขายต่อไปยังสำนักพิมพ์อื่นเป็นทอดๆ หลายสำนักพิมพ์ จนถึงปัจจุบัน สำนักพิมพ์ที่ถือลิขสิทธิ์อยู่คือ สำนักพิมพ์ เพนกวินบุ๊คส์ (Penguin Books) ในพ.ศ. 2514 นวนิยายเรื่องนี้ก็ถูกดัดแปลงไปสร้างเป็นภาพยนตร์ ซึ่งคือภาพยนตร์เรื่อง เพชรพยัคฆราช โดยมี ฌอน คอนเนอรี่ เป็น เจมส์ บอนด์ และเป็นภาพยนตร์เรื่องเดียวที่มาจากการนำนวนิยายเรื่องนี้ไปดัดแปลงและสร้างเป็นภาพยนตร.

Diamonds Are Forever (นวนิยาย)และมฤตยู มูนแรคเกอร์ · Diamonds Are Forever (นวนิยาย)และเจมส์ บอนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง มฤตยู มูนแรคเกอร์และเจมส์ บอนด์

มฤตยู มูนแรคเกอร์ มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ เจมส์ บอนด์ มี 166 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 1.74% = 3 / (6 + 166)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง มฤตยู มูนแรคเกอร์และเจมส์ บอนด์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: