เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

มนุษย์กลายพันธุ์และยีน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง มนุษย์กลายพันธุ์และยีน

มนุษย์กลายพันธุ์ vs. ยีน

สิ่งมีชีวิตกลายพันธุ์ หรือ มิวแทนท์ (mutant) ซึ่งก่อนหน้านั้นนักพันธุศาสตร์ เรียกว่า"อสูรกาย" ("monster") คือสิ่งมีชีวิตที่มีความเฉพาะเจาะจงของลักษณะทางพันธุกรรม มีอวัยวะพิเศษ หรือมียีนส์ที่แปลกไป โดยพัฒนาหรือส่งผลจากการวิวัฒนาการ หรือการกลายพันธุ์ซึ่งเปลี่ยนสิ่งต่าง ๆ เชิงโครงสร้างภายในดีเอ็นเอของยีนส์ หรือสายพันธุกรรม ส่งผลให้เกิดบุคลิกลักษณะใหม่ ๆ หรือไม่เคยพบเห็นในรุ่นพ่อแม่ ในเชิงชีวภาพหรือลักษณะเฉพาะตัว บุคลิกใหม่ ๆ ที่กลายพันธุ์มาอาจจะยังเป็นปกติหรือไม่ปกติก็ได้ อาจจะไม่ส่งผลเชิงบวกหรือส่งผลในแง่ดี แต่มักจะส่งผลให้เกิดความผิดปกติทางพันธุกรรมเสียมากกว่า โดยมากการกลายพันธุ์ของยีนส์เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และเป็นขั้นตอนการวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตรูปแบบหนึ่ง ในมนุษย์จะเรียกว่ามนุษย์กลายพันธุ์ มีนักวิทยาศาสตร์ และนักพันธุศาสตร์หลายคนเชื่อว่า การกลายพันธุ์ของมนุษย์ เริ่มเกิดขึ้นมาตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 17 และเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดด ในช่วงต้นศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา สาเหตุของการกลายพันธุ์มีอยู่หลากหลายปัจจัย โดยมาก จะสรุปเอาว่า เกิดจากความเปลี่ยนแปลงของโลกเป็นพื้นฐานหลัก ประกอบกับที่มนุษย์ได้พัฒนาเทคโนโลยี ทั้งทางการแพทย์ เคมี ชีวภาพ ซึ่งส่งผมข้างเคียงต่อพันธุกรรมมนุษย์ การผลิตยา และให้ยาในปัจจุบัน ที่มีอยู่อย่างแพร่หลาย การใช้ยาบำรุง อาหารสำเร็จรูป อาหารเสริม อันส่งผลต่อระบบเซลล์ ตลอดรายละเอียดด้านพันธุศาสตร์ของมนุษย์ อันส่งผลสู่รุ่นต่อไปในการสืบพันธุ์มนุษย์ การกลายพันธุ์ที่พบบ่อยมากที่สุดคือ มนุษย์เริ่มมีการตั้งครรภ์บุตรจำนวนได้มากกว่า 1-2 สองคน หรือที่เรียกว่า "แฝด" ปัจจุบัน ค้นพบว่า มนุษย์สามารถตั้งครรภ์ และให้กำเนิดบุตร ได้มากถึง 8 ชีวิต ซึ่งนับว่าเป็นการแบ่งแยกเซลล์ ในการสืบพันธุ์ หลังการปฏิสนธิของอสุจิ และรังไข่ ซึ่งโดยมาจะแยกเซลล์ไม่มากถึง 9 เซลล์เช่นนี้ ต่อมาเป็นการกลายพันทางด้านจิต เชื่อว่า มนุษย์ทั้งเพศชายและหญิงในปัจจุบัน พบความเบี่ยงเบนทางเพศสูงกว่าในอดีตอย่างมาก ซึ่งถือเป็นการกลายพันธุ์ด้านของเหลวภายในร่างกาย หรือฮอโมนที่กำหนดการรับรู้ต่างๆ ของมนุษย์ การเติบโตของสมองซีกซ้ายและขวา ซึ่งมีส่วนในการตระหนักรับรู้เพศของบุคคล ก็รับผลกระทบด้านการกลายพันธุ์เช่นกัน ในกลุ่มจำนวนน้อย แต่เป็นกลุ่มที่มีการกลายพันธุ์สูงสุด และยังไม่เป็นที่ยอมรับ แต่ยังคงมีนักวิทยาศาสตร์ และนักพันธุศาสตร์จำนวนหนึ่ง พยายามค้นหาทฤษฎี และหลักฐานมายืนยันความเชื่อ ที่ว่า การกลายพันธุ์ยังส่งผลถึงยีนส์ (จิโนม) มนุษย์ ให้มีความสามารถ (Ability) ที่สูงขึ้นกว่าในวิวัฒนาการในอดีต โดยส่งผลต่อประสาทสัมผัสทั้งห้า ได้แก่ การสัมผัส การรับรส การได้กลิ่น การมองเห็น และการได้ยิน ซึ่งมีการเพิ่มความสามารถมากขึ้น หรือที่เรียกกันว่า "สัมผัสที่หก" โดยแยกออกได้หลายกลุ่ม โดยจะแยกตามสิ่งที่พบได้มากที่สุดดังนี้ - การมองเห็นที่ดีกว่าคนทั่วไป เช่น มองเห็นของบางอย่างที่อยู่ไกลมากๆได้ มองเห็นรังสีต่างๆได้ - การได้ยินในสิ่งที่บุคคลทั่วไปไม่สามารถได้ยินได้ เช่น คลื่นวิทยุ สัญญาณต่าง ๆ ซึ่งบางครั้งส่งผลต่อจิตใจ ทำให้ต้องมีการบำบัดต่อไป - การสัมผัส หรือประสาทสัมผัสรวดเร็วสูงกว่าคนปกติ เช่น ความว่องไวต่อสิ่งเร้าที่จะเข้ามาถึงตัวไวกว่าผู้อื่น - พละกำลัง ณ ที่นี้หมายถึง มีกำลังวังชาสูงกว่าคนปกติ พบมากในกลุ่มอาชญากร และผู้ชาย เพราะการกลายพันธุ์นี้ ส่งผลต่อความก้าวร้าวด้วย - ความสามารถที่ถูกจัดอยู่ในความเชื่องมงาย ความสามารถนี้ เป็นที่ยอมรับน้อยที่สุด อาทิเช่น เห็นเหตุการณ์ล่วงหน้า (มิใช่เดจาวู) ทั้งนี้ การกลายพันธุ์ของมนุษย์ ยังถูกนำไปสร้างเป็นนวนิยายวิทยาศาสตร์ ภาพยนตร์เรื่องสั้น และเรื่องยาว อาทิ X-Men, Heroes เป็นต้น ซึ่งมีนักวิทยาศาสตร์ และนักพันธุศาสตร์จำนวนไม่มาก มีความเชื่อเรื่องนี้ และพยายามหาหลักฐานมายืนยันอีกด้วย นักพันธุศาสตร์กลุ่มหนึ่ง เคยอ้างว่าพบเด็กชายวัย 13 ปี ที่สามารถเคลื่อนย้ายสิ่งของได้ด้วยจิต ต่อมาเขาฆ่าตัวตายในวัน 17 เนื่องจากไม่สามารถควบคุมพลังที่เกิดจากการกลายพันธุ์ของเขาได้ และเกิดความกลัวอย่างสุดขีด หรือจะเป็นเด็กสาววัยรุ่นคนหนึ่ง ที่ได้ยินเสียงความถี่ของคลื่นวิทยุ และสัญญาณโทรศัพท์ตลอดเวลา ซึ่งปัจจุบันเธอสูญเสียการได้ยินไปแล้ว อีกราย เป็นเด็กชายทารก ที่ทางกลุ่มตั้งชื่อการกลายพันธุ์ประเภทนี้ว่า Regeneration หรือ Heal ซึ่งเป็นกลุ่มมนุษย์กลายพันธุ์ที่มีเซลล์ที่แข็งแรง ทำให้พวกเขารักษาตัวเองได้เร็วกว่าบุคคลทั่วไป เช่น หากพวกเขาได้รับบาดเจ็บจากมีดบาด คนปกติอาจใช้เวลา 1-2 สัปดาห์ กว่าแผลของพวกเขาจะหายเป็นปกติ แต่มนุษย์กลายพันธุ์กลุ่มนี้อาจหายได้ภายในเวลาไม่ถึง 3 วัน และไม่ทิ้งรอยแผลเป็น หรือผมยาวเร็วกว่าคนทั่วไป หรือไม่ว่าจะเป็นการที่มีอายุยืนยาว หรือไม่ค่อยมีโรคภัยเท่าผู้อื่น หรือสามารถอยู่รอดได้ ในที่ที่มีโรคระบาดโดยตนเองมีภูมิคุ้มกันที่เหลือเชื่อ เป็นต้น แต่ถึงอย่างไร ก็ยังไม่มีการให้ความสนใจ ในการกลายพันธุ์แบบเหนือธรรมชาติเช่นนี้นัก จึงยังคงไม่มีการศึกษาหรือเผยแพร่ข้อมูลอย่างกว้างขวาง กระนั้น การกลายพันธุ์แบบเหนือธรรมชาติ ก็ยังคงไม่มีให้พบเห็นมากนัก จะพบเห็นได้มาก ก็แต่การกลายพันธุ์ทั่ว ๆ ไป ไม่ว่าจะเป็น นิ้วเกิน หรืออวัยวะส่วนอื่นเกิน, บุคคลระบุเพศไม่ได้ (ไม่มีอวัยวะเพศ), มนุษย์เผือก, ผู้หญิงขนดก, ชาย-หญิงที่ร่างกายปกคลุมไปด้วยขน (Ware wolf),ตาสองสี, ผิวทนต่อความร้อน หรือไฟ, มีภูมิคุ้มกันแต่กำเนิด, เด็กหน้าแก่ และอื่นๆ อีกมากมาย ที่กล่าวมานั้นจริงหรือไม่จริง หมวดหมู่:พันธุศาสตร์คลาสสิก หมวดหมู่:ชีววิทยาวิวัฒนาการ หมวดหมู่:พันธุศาสตร์. รโมโซมคือสายดีเอ็นเอที่พันประกอบขึ้นเป็นรูปร่าง ยีนคือส่วนหนึ่งของสายดีเอ็นเอที่ถอดรหัสออกมาเพื่อทำหน้าที่ ยีนสมมติในภาพนี้ประกอบขึ้นจากแค่สี่สิบคู่เบส ซึ่งยีนจริงๆ จะมีจำนวนคู่เบสมากกว่านี้ ยีน, จีน หรือ สิ่งสืบต่อพันธุกรรม (gene) คือลำดับดีเอ็นเอหรืออาร์เอ็นเอที่สามารถถอดรหัสออกมาเป็นโมเลกุลหนึ่งๆ ที่สามารถทำหน้าที่ได้ โดยปกติแล้วดีเอ็นเอจะถูกถอดรหัสออกมาเป็นอาร์เอ็รนเอ แล้วอาร์เอ็นเอนั้นอาจทำหน้าที่ได้เองโดยตรง หรือเป็นแบบให้กับขั้นตอนการแปลรหัส ซึ่งเป็นการสร้างโปรตีนเพื่อทำหน้าที่ต่อไปก็ได้ การถ่ายทอดยีนไปยังทายาทของสิ่งมีชีวิตเป็นพื้นฐานที่สำคัญของการส่งต่อลักษณะไปยังรุ่นถัดไป ยีนต่างๆ เหล่านี้ประกอบกันขึ้นเป็นลำดับดีเอ็นเอเรียกว่าจีโนทัยป์หรือลักษณะพันธุกรรม ซึ่งเมื่อประกอบกับปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมและการเจริญเติบโตแล้วจะเป็นตัวกำหนดฟีโนทัยป์หรือลักษณะปรากฏ ลักษณะทางชีวภาพหลายๆ อย่างถูกกำหนดโดยยีนหลายยีน บางอย่างถูกกำหนดโดยปฏิสัมพันธ์ระหว่างยีนกับสิ่งแวดล้อม ลักษณะทางพันธุกรรมบางอย่างอาจปรากฏให้เห็นได้อย่างชัดเจน เช่น สีตา จำนวนแขนขา และบางอย่างก็ไม่ปรากฏให้เห็น เช่น หมู่เลือด ความเสี่ยงของการเกิดโรค รวมถึงกระบวนการทางชีวเคมีนับพันที่เป็นพื้นฐานของชีวิต ยีนอาจเกิดการกลายพันธุ์สะสมในลำดับพันธุกรรมได้ ทำให้เกิดความแตกต่างของการแสดงออกในกลุ่มประชากร เรียกว่าแต่ละรูปแบบที่แตกต่างนี้ว่า อัลลีล แต่ละอัลลีลของยีนยีนหนึ่งจะถอดรหัสออกมาเป็นโปรตีนที่มีความแตกต่างกันเล็กน้อย ทำให้เกิดลักษณะปรากฏทางฟีโนทัยป์ที่แตกต่างกันไป ในระดับคนทั่วไปเมื่อพูดถึงการมียีน เช่น มียีนที่ดี มียีนสีผมน้ำตาล มักหมายถึงการมีอัลลีลที่แตกต่างของยีนยีนหนึ่ง ยีนเหล่านี้จะผ่านกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติเพื่อให้เกิดการอยู่รอดของอัลลีลที่เหมาะสมที่สุด ซึ่งเป็นกระบวนการสำคัญที่ทำให้เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ยีนเป็นส่วนหนึ่งของโครโมโซมที่ถอดรหัสได้เป็นสายพอลิเพปไทด์หนึ่งสายที่ทำงานได้ (single functional polypeptide) หรือได้เป็นอาร์เอ็นเอ ยีนประกอบด้วยส่วนที่สามารถถอดรหัสเป็นอาร์เอ็นเอได้ เรียกว่า exon และบริเวณที่ไม่สามารถถอดรหัสได้ เรียกว่า intron.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง มนุษย์กลายพันธุ์และยีน

มนุษย์กลายพันธุ์และยีน มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): การกลายพันธุ์วิวัฒนาการดีเอ็นเอ

การกลายพันธุ์

การกลายพันธุ์ (mutation) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพของสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเปลี่ยนแปลงของยีน ทำให้สิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นมาใหม่มีลักษณะแตกต่างจากกลุ่มปกติ, วันที่สืบค้น 25 พฤษภาคม 2559 จาก www.thaibiotech.info.

การกลายพันธุ์และมนุษย์กลายพันธุ์ · การกลายพันธุ์และยีน · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒนาการ

ในด้านชีววิทยา วิวัฒนาการ (Evolution) คือการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในประชากรของสิ่งมีชีวิต จากรุ่นหนึ่งสู่อีกรุ่นหนึ่ง วิวัฒนาการเกิดจากกระบวนการหลัก 3 กระบวนการ ได้แก่ ความแปรผัน การสืบพันธุ์ และการคัดเลือก โดยอาศัยยีนเป็นตัวกลางในการส่งผ่านลักษณะทางพันธุกรรม อันเป็นพื้นฐานของการเกิดวิวัฒนาการ ลักษณะเช่นนี้เกิดขึ้นในประชากรเพื่อให้เกิดความแปรผันทางพันธุกรรมเมื่อสิ่งมีชีวิตให้กำเนิดลูกหลานย่อมเกิดลักษณะใหม่ หรือเปลี่ยนแปลงลักษณะเดิม โดยลักษณะใหม่ที่เกิดขึ้นนี้มีสาเหตุสำคัญ 2 ประการ ประการหนึ่ง เกิดจากกระบวนการกลายพันธุ์ของยีน และอีกประการหนึ่ง เกิดจากการแลกเปลี่ยนยีนระหว่างประชากร และระหว่างสปีชีส์ ในสิ่งมีชีวิตที่มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ สิ่งมีชีวิตใหม่ที่เกิดขึ้นจะผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนยีน อันก่อให้เกิดความแปรผันทางพันธุกรรมที่หลากหลายในสิ่งมีชีวิต วิวัฒนาการเกิดขึ้นเมื่อความแตกต่างทางพันธุกรรมเกิดขึ้น จนเกิดความแตกต่างมากขึ้นเรื่อยๆ จนกลายเป็นลักษณะที่แตกต่างกัน กลไกในการเกิดวิวัฒนาการแบ่งได้ 2 กลไก กลไกหนึ่งคือการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) อันเป็นกระบวนการคัดเลือกสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเหมาะสมที่จะอยู่รอด และสืบพันธุ์จนได้ลักษณะที่เหมาะสมที่สุด และลักษณะที่ไม่เหมาะสมจะเหลือน้อยลง กลไกนี้เกิดขึ้นเพื่อคัดเลือกลักษณะของประชากรที่เกิดประโยชน์ในการสืบพันธุ์สูงสุด เมื่อสิ่งมีชีวิตหลายรุ่นได้ผ่านพ้นไป ก็จะเกิดกระบวนการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต เพื่อให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม กลไกที่สองในการขับเคลื่อนกระบวนการวิวัฒนาการคือการแปรผันทางพันธุกรรม (genetic drift) อันเป็นกระบวนการอิสระจากการคัดเลือกความถี่ของยีนประชากรแบบสุ่ม การแปรผันทางพันธุกรรมเป็นผลมาจากการอยู่รอด และการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต แม้ว่าการแปรผันทางพันธุกรรมในแต่ละรุ่นนั้นจะเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย แต่ลักษณะเหล่านี้จะสะสมจากรุ่นสู่รุ่น เกิดการเปลี่ยนแปลงทีละเล็กละน้อยในสิ่งมีชีวิต จนกระทั่งเวลาผ่านไปเป็นระยะเวลานาน จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในลักษณะของสิ่งมีชีวิต กระบวนการดังกล่าวเมื่อถึงจุดสูงสุดจะทำให้กำเนิดสปีชีส์ชนิดใหม่ แม้กระนั้น ความคล้ายคลึงกันระหว่างสิ่งมีชีวิตมีข้อเสนอที่เป็นที่รู้จักกันดีคือการสืบเชื้อสายจากบรรพบุรุษ (หรือยีนพูลของบรรพบุรุษ) เมื่อผ่านกระบวนการนี้จะก่อให้เกิดความหลากหลายมากขึ้นทีละเล็กละน้อย เอกสารหลักฐานทางชีววิทยาวิวัฒนาการชี้ให้เห็นว่ากระบวนการวิวิฒนาการเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ทฤษฎีอยู่ในช่วงของการทดลอง และพัฒนาในสาเหตดังกล่าว การศึกษาซากฟอสซิล และความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตทำให้นักวิทยาศาสตร์ช่วงกลางคริสศตวรรษที่ 19 ส่วนใหญ่เชื่อว่าสปีชีส์มีการเปลี่ยนแปลงมาตลอดในระยะเวลาที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม กระบวนการที่ขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงนี้เป็นปริศนาต่อนักวิทยาศาสตร์ทั่วไป จนกระทั่งปี พ.ศ. 2402 ชาร์ล ดาวิน ตีพิมพ์หนังสือ กำเนิดสปีชีส์ ซึ่งได้อธิบายทฤษฎีวิวัฒนาการโดยกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาต.

มนุษย์กลายพันธุ์และวิวัฒนาการ · ยีนและวิวัฒนาการ · ดูเพิ่มเติม »

ดีเอ็นเอ

กลียวคู่ดีเอ็นเอ กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก (deoxyribonucleic acid) หรือย่อเป็น ดีเอ็นเอ เป็นกรดนิวคลีอิกที่มีคำสั่งพันธุกรรมซึ่งถูกใช้ในพัฒนาการและการทำหน้าที่ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดเท่าที่ทราบ (ยกเว้นอาร์เอ็นเอไวรัส) ส่วนของดีเอ็นเอซึ่งบรรจุข้อมูลพันธุกรรมนี้เรียกว่า ยีน ทำนองเดียวกัน ลำดับดีเอ็นเออื่น ๆ มีความมุ่งหมายด้านโครงสร้าง หรือเกี่ยวข้องกับการควบคุมการใช้ข้อมูลพันธุกรรมนี้ ดีเอ็นเอ อาร์เอ็นเอและโปรตีนเป็นหนึ่งในสามมหโมเลกุลหลักที่สำคัญในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่ทราบ ดีเอ็นเอประกอบด้วยพอลิเมอร์สองสายยาวประกอบจากหน่วยย่อย เรียกว่า นิวคลีโอไทด์ โดยมีแกนกลางเป็นน้ำตาลและหมู่ฟอสเฟตเชื่อมต่อกันด้วยพันธะเอสเทอร์ ทั้งสองสายนี้จัดเรียงในทิศทางตรงกันข้าม จึงเป็น antiparallel น้ำตาลแต่ละตัวมีโมเลกุลหนึ่งในสี่ชนิดเกาะอยู่ คือ นิวคลีโอเบส หรือเรียกสั้น ๆ ว่า เบส ลำดับของนิวคลีโอเบสทั้งสี่ชนิดนี้ตามแกนกลางที่เข้ารหัสข้อมูลพันธุกรรม ข้อมูลนี้อ่านโดยใช้รหัสพันธุกรรม ซึ่งกำหนดลำดับของกรดอะมิโนในโปรตีน รหัสนี้ถูกอ่านโดยการคัดลอกดีเอ็นเอเป็นกรดนิวคลีอิกอาร์เอ็นเอที่เกี่ยวข้องในขบวนการที่เรียกว่า การถอดรหัส ดีเอ็นเอภายในเซลล์มีการจัดระเบียบเป็นโครงสร้างยาว เรียกว่า โครโมโซม ระหว่างการแบ่งเซลล์ โครโมโซมเหล่านี้ถูกคัดลอกในขบวนการการถ่ายแบบดีเอ็นเอ ทำให้แต่ละเซลล์มีชุดโครโมโซมที่สมบูรณ์ของตัวเอง สิ่งมีชีวิตยูคาริโอต (สัตว์ พืช ฟังไจและโพรทิสต์) เก็บดีเอ็นเอส่วนมากไว้ในนิวเคลียส และดีเอ็นเอบางส่วนอยู่ในออร์แกเนลล์ เช่น ไมโทคอนเดรียและคลอโรพลาสต์ ในทางตรงข้าม โปรคาริโอต (แบคทีเรียและอาร์เคีย) เก็บดีเอ็นเอไว้เฉพาะในไซโทพลาสซึม ในโครโมโซม โปรตีนโครมาติน เช่น ฮิสโตนบีบอัดและจัดรูปแบบของดีเอ็นเอ โครงสร้างบีบอัดเหล่านี้นำอันตรกิริยาระหว่างดีเอ็นเอกับโปรตีนอื่น ช่วยควบคุมส่วนของดีเอ็นเอที่จะถูกถอดรหั.

ดีเอ็นเอและมนุษย์กลายพันธุ์ · ดีเอ็นเอและยีน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง มนุษย์กลายพันธุ์และยีน

มนุษย์กลายพันธุ์ มี 5 ความสัมพันธ์ขณะที่ ยีน มี 21 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 11.54% = 3 / (5 + 21)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง มนุษย์กลายพันธุ์และยีน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: