เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

มนตรี คุ้มเรือนและอหังการ์ราชันย์ยักษ์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง มนตรี คุ้มเรือนและอหังการ์ราชันย์ยักษ์

มนตรี คุ้มเรือน vs. อหังการ์ราชันย์ยักษ์

มนตรี คุ้มเรือน เป็นนักวาดการ์ตูนชาวไทย ชื่อของมนตรีนั้นเป็นที่รู้จักของนักอ่านการ์ตูนไทยหลายคนจากการ์ตูนไทยเรื่อง บางระจันสปิริต ซึ่งลงตีพิมพ์ในนิตยสารการ์ตูน CX เมื่อช่วงปี พ.ศ. 2547 ก่อนที่นิตยสารฉบับนี้จะปิดตัวลง หลังจากนั้นจึงได้หันเหไปเขียนการ์ตูนเด็กแทน และมีผลงานออกมาไม่ต่ำกว่า 10 เล่ม ปัจจุบันกำลังเขียนการ์ตูนเรื่อง Ogre King อหังการ์ราชันย์ยักษ์ ร่วมกับนักเขียนการ์ตูนอีกคนคือ อรุณทิวา ลงในนิตยสารรายสัปดาห์ C-Kids และทั้งสองคนนี้ยังได้ร่วมกันเขียน Idol Berryz การ์ตูนเรื่องสั้นความยาวตอนละ 5 หน้าลงในนิตยสารวัยรุ่น Berry ซึ่งวางแผงเป็นรายเดือนในปัจจุบันอีกด้ว. อหังการ์ราชันย์ยักษ์ (Ogre King โอเกอร์คิง) เป็นการ์ตูนไทยในรูปแบบมังงะหรือคอมมิค ซึ่งผู้สร้างสรรค์ผลงานคือนักวาดการ์ตูนชาวไทยสองคนได้แก่ มนตรี คุ้มเรือน เป็นผู้วาดภาพ และ อรุณทิวา วชิรพรพงศา เป็นผู้แต่งเรื่อง มีการจัดพิมพ์เป็นรูปเล่มแบบพ็อคเก็ตบุ๊คขนาดไม่เกิน 200 หน้าและตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2552 โดยทีมงาน Cartoon Thai Studio ในเครือของ สยามอินเตอร์คอมิกส์ ปัจจุบันออกวางจำหน่ายแล้วจำนวน 13 เล่ม (ยังไม่จบ) และมีเล่มพิเศษอีก 1 เล่มในชื่อ Episode Zero:Shadow of The Knight การ์ตูนไทยเรื่องโอเกอร์คิงเป็นการ์ตูนแนวแฟนตาซีร่วมสมัย ฉากต่าง ๆ นั้นเกิดขึ้นในดินแดนที่ถูกสมมุติขึ้นมา และมีความเป็นไทยรวมถึงวัฒนธรรมไทยหลายอย่างสอดแทรกอยู่ภายในภาพและเนื้อหาตลอดทั้งเรื่อง จึงทำให้เป็นที่ติดอกติดใจของผู้อ่านการ์ตูนไทยหลายคน บางช่วงของเนื้อเรื่องยังมีการนำเอาประวัติศาสตร์ไทยมาดัดแปลงและวางบทบาทลงไปในเรื่องราวได้อย่างลงตัว โอเกอร์คิง มีเนื้อหาส่วนใหญ่เกี่ยวกับยักษ์ คาถาอาคมสมัยโบราณ และการผจญภัยของกลุ่มเพื่อน โดยมี "ชิน" เด็กน้อยวัย 15 ปี ซึ่งเป็นครึ่งคนครึ่งยักษ์เป็นตัวละครนำ ก่อนหน้าที่โอเกอร์คิงจะถูกรวมเล่ม การ์ตูนเรื่องนี้เคยถูกตีพิมพ์ลงในนิตยสารรายปักษ์ Mac X Big size แต่หลังจากที่นิตยสารเล่มนี้วางแผงออกมาได้เพียง 9 ฉบับ ก็หายสาบสูญไปจากแผงหนังสืออย่างไร้ร่องรอย แต่แม้กระนั้นฉบับรวมเล่มของโอเกอร์คิงก็ยังถูกตีพิมพ์ออกมาเรื่อยๆ และได้ออกภาคพิเศษในชื่อ Episode ZERO: Shadow of the knight ตีพิมพ์ลงในนิตสารรายสัปดาห์ C-Kids ฉบับที่ 10/209, 11/2009, 20/2009 และ 21/2009 รวมทั้งหมด 4 ตอน โอเกอร์คิง ผลงานของ "มนตรี คุ้มเรือน" กับ "อรุณทิวา วชิรพรพงศา" เป็นการร่วมงานกันของนักเขียนการ์ตูนไทยสองคนที่รู้จักและสนิทสนมกันมานาน เมื่อช่วงปี พ.ศ. 2547 ทั้งสองคนเคยเขียนการ์ตูนลงในนิตยสารการ์ตูนไทย CX ก่อนที่จะย้ายมาเขียนการ์ตูนความรู้สำหรับเด็กให้กับสำนักพิมพ์ E.Q.PLUS ซึ่งทั้งสองคนได้จับมือกันสร้างผลงานเลื่องชื่อ จนได้รับรางวัลในสาขาการ์ตูนจากกระทรวงศึกษาธิการ จากการ์ตูนเรื่อง มหากาพย์กู้แผ่นดิน ถึงสองปีซ้อน หลังจากเสร็จสิ้นภารกิจกับสำนักพิมพ์เดิม มนตรี และอรุณทิวา ก็ตัดสินใจร่วมงานกันอีกครั้ง ซึ่งคราวนี้ทั้งสองคนตั้งใจที่จะสร้างสรรค์ผลงานการ์ตูนไทยในรูปแบบของตัวเองอย่างเต็มตัว จนกลายมาเป็นโปรเจกต์การ์ตูนไทยเรื่องยาว โอเกอร์คิง ที่กำลังมัดใจผู้อ่านอยู่ในขณะนี้ ล่าสุด OGRE KING อหังการ์ราชันย์ยักษ์ ได้รับรางวัลการ์ตูนไทยยอดเยี่ยมประจำปี 2553 จากงาน Core Cartoon Award 2010 ซึ่งถือว่าเป็นรางวัลที่ยิ่งใหญ่รางวัลหนึ่งของวงการการ์ตูนไท.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง มนตรี คุ้มเรือนและอหังการ์ราชันย์ยักษ์

มนตรี คุ้มเรือนและอหังการ์ราชันย์ยักษ์ มี 7 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2547การ์ตูนไทยมหากาพย์กู้แผ่นดินอรุณทิวา วชิรพรพงศาซีคิดส์ เอ๊กซ์เพรสประเทศไทยนักเขียนการ์ตูน

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

พ.ศ. 2547และมนตรี คุ้มเรือน · พ.ศ. 2547และอหังการ์ราชันย์ยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

การ์ตูนไทย

การ์ตูนไทย ประวัติจากคำบอกเล่า เริ่มต้นจากเป็นการ์ตูนแนวนิยายพื้นบ้าน ผี และแนวจักร ๆ วงศ์ ๆ ราคาเล่มละหนึ่งบาท โดยมีนักเขียนการ์ตูนที่มีชื่อเสียงสมัยนั้น เช่น จุก เบี้ยวสกุล ต่อมาเริ่มมีการ์ตูนแนวตลกสั้น ๆ ในลักษณะ การ์ตูน 3 ช่องจบ ออกมาเพิ่ม เช่น เบบี้ หนูจ๋า ขายหัวเราะ และ มหาสนุก ส่วนการ์ตูนไทยในลักษณะมังงะอย่างที่พบเห็นทั่วไปในปัจจุบันนั้น น่าจะมีมาไม่ถึงยี่สิบปี โดยนิตยสารการ์ตูนไทยในแนวมังงะยุคบุกเบิกได้แก่ ไทคอมมิค (Thai Comic) ของสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ และ เอ-คอมมิค (a-comic) และ cartoon thai studio ของ สยามอินเตอร์คอมม.

การ์ตูนไทยและมนตรี คุ้มเรือน · การ์ตูนไทยและอหังการ์ราชันย์ยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหากาพย์กู้แผ่นดิน

มหากาพย์กู้แผ่นดิน เป็นหนังสือการ์ตูนไทยแนวอิงประวัติศาสตร์ไทยเกี่ยวกับพระราชประวัติของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์คลีเนทีฟในเครืออีคิวพลัส (Cleanative/E.Q.Plus) สตอรี่บอร์ดและเนื้อเรื่อง โดย อรุณทิวา วชิรพรพงศา วาดภาพโดย มนตรี คุ้มเรือน มีจำนวน 5 เล่ม การ์ตูนชุดนี้ยังได้รับรางวัลชมเชยจากรางวัลการ์ตูนนานาชาติ (International Manga Award) ที่จัดขึ้นเป็นครั้งแรกใน..

มนตรี คุ้มเรือนและมหากาพย์กู้แผ่นดิน · มหากาพย์กู้แผ่นดินและอหังการ์ราชันย์ยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

อรุณทิวา วชิรพรพงศา

Aruntiwa อรุณทิวา หรือ อรุณทิวา วชิรพรพงศา ชื่อเล่นว่า เอ เกิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ 20 กุมภาพัน..

มนตรี คุ้มเรือนและอรุณทิวา วชิรพรพงศา · อรุณทิวา วชิรพรพงศาและอหังการ์ราชันย์ยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีคิดส์ เอ๊กซ์เพรส

ซี-คิดส์ เอ๊กซ์เพรส (C-Kids Express) หรือชื่อเดิมว่า ซี-คิดส์ (C-Kids) เป็นหนังสือการ์ตูนรายสัปดาห์ ของ สำนักพิมพ์สยามอินเตอร์คอมิกส์ ในเครือสยามกีฬา การ์ตูนในเล่มเป็นการ์ตูนที่ตีพิมพ์ลงในนิตยสารโชเน็นจัมป์รายสัปดาห์ ของสำนักพิมพ์ชูเอฉะ ที่ประเทศญี่ปุ่น โดยช่วงแรกของการวางจำหน่ายนั้นจะเป็นแบบเปิด ซ้ายไปขวา แต่พอมาถึงฉบับของวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ได้เปลี่ยนรูปโฉมมาเป็นอ่านแบบ ขวาไปซ้าย ตามต้นฉบับญี่ปุ่น โดยปกของเล่มที่เปิดจาก ขวาไปซ้าย อย่างสมบูรณ์เล่มแรกคือเรื่อง นักรบเหล็กเทว.

ซีคิดส์ เอ๊กซ์เพรสและมนตรี คุ้มเรือน · ซีคิดส์ เอ๊กซ์เพรสและอหังการ์ราชันย์ยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ประเทศไทยและมนตรี คุ้มเรือน · ประเทศไทยและอหังการ์ราชันย์ยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

นักเขียนการ์ตูน

นักวาดการ์ตูน (Cartoonist) คือบุคคลผู้มีความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษในการเขียนการตูน ตามธรรมเนียมแล้วงานเขียนของนักเขียนการ์ตูนส่วนใหญ่จะเป็นแนวการ์ตูนขำขัน (ซึ่งปัจจุบันก็ยังคงเป็นเช่นนั้น) และมีจุดมุ่งหมายในการนำเสนอเบื้องต้นคือเพื่อความบันเทิง งานเขียนดังกล่าวมีเนื้อหาที่หลากหลาย นำเสนอในรูปแบบการ์ตูนช่องเดียวจบ และตีพิมพ์ในสื่อชนิดต่างๆ เช่น ในนิตยสารหรือในหนังสือพิมพ์รายวัน เป็นต้น คำว่านักเขียนการ์ตูนนี้ยังมีการประยุกต์ใช้ หมายถึงนักเขียนที่เขียนการ์ตูนประเภทหลายช่องจบ (comic strips) การ์ตูนคอมมิค (comic books) และการ์ตูนเรื่องยาวหรือนิยายภาพ (graphic novels) ด้ว.

นักเขียนการ์ตูนและมนตรี คุ้มเรือน · นักเขียนการ์ตูนและอหังการ์ราชันย์ยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง มนตรี คุ้มเรือนและอหังการ์ราชันย์ยักษ์

มนตรี คุ้มเรือน มี 8 ความสัมพันธ์ขณะที่ อหังการ์ราชันย์ยักษ์ มี 19 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 7, ดัชนี Jaccard คือ 25.93% = 7 / (8 + 19)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง มนตรี คุ้มเรือนและอหังการ์ราชันย์ยักษ์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: