โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภูเขาไฟเมานาเคอาและแถบไคเปอร์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ภูเขาไฟเมานาเคอาและแถบไคเปอร์

ภูเขาไฟเมานาเคอา vs. แถบไคเปอร์

มานาเคอา เมื่อมองจาก โคฮาลา แผนที่ของเกาะฮาวาย กล้องโทรทรรศน์ Subaru, Keck I, II และกล้องอินฟราเรดของนาซา ภูเขาไฟเมานาเคอา (Mauna Kea) เป็นภูเขาไฟที่สงบแล้ว ตั้งอยู่ในรัฐฮาวาย สหรัฐอเมริกา เป็นภูเขาหนึ่งในห้าลูกที่ประกอบกันเป็นเกาะฮาวาย โดยภูเขาอีกสี่ลูก คือ ภูเขาไฟโคฮาลา ภูเขาไฟฮูอาลาไล ภูเขาไฟเมานาโลอา ภูเขาไฟคีเลาเวอา เมานาเคอามีความสูงวัดจากระดับน้ำทะเล 13,796 ฟุต หรือ 4,205 เมตร สูงที่สุดในเกาะฮาวาย โดยสูงกว่ายอดเขาเมานาโลอาประมาณ 120 ฟุต (37 เมตร) เมานาเคอามีความสูงวัดจากฐานส่วนที่จมอยู่ใต้มหาสมุทรแปซิฟิกอีกประมาณ 19,000 ฟุต (5,800 เมตร) เมื่อรวมกันแล้วเมานาเคอามีความสูงมากกว่า 33,000 ฟุต (10,000 เมตร) ซึ่งสูงที่สุดในโลก และสูงกว่ายอดเขาเอเวอเรสต์ เมานาเคอาเป็นภาษาฮาวาย แปลว่า ภูเขาสีขาว เนื่องจากมีหิมะปกคลุมยอดเขาตลอดทั้งปี บนยอดเขามีทัศนวิสัยที่ดี เหมาะสำหรับการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ โดยมีกล้องดูดาวอยู่บนยอดเขาถึง 13 กล้องจากหลายประเทศ รวมทั้งหอดูดาวเคก 1 และ 2 (W.M.Keck Observatory) และกล้องวิทยุโทรทรรศน์หนึ่งในสิบกล้อง ที่ประกอบกันเป็น Very Long Baseline Array (VLBA) ของหอดูดาววิทยุแห่งชาติ (National Radio Astronomy Observatory - NRAO) สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2549 เกิดแผ่นดินไหววัดความสั่นสะเทือนได้ 6.7 มาตราริกเตอร์ ทำให้เกิดความเสียหายต่อกล้องดูดาวจำนวนหนึ่งบนยอ. กราฟิกแสดงแถบไคเปอร์ และเมฆออร์ต ภาพแสดงวัตถุพ้นดาวเนปจูนขนาดใหญ่ ที่เป็นที่รู้จักแล้วในปัจจุบัน ยานนิวฮอไรซันส์ ที่ใช้ในการสำรวจแถบไคเปอร์ และดาวพลูโต แถบไคเปอร์ (Kuiper Belt) หมายถึง บริเวณที่อยู่เลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป ที่ด้านนอกระบบสุริยะรอบนอก มีบริเวณกว้าง 3,500 ล้านไมล์ มีก้อนวัตถุแข็ง เป็นน้ำแข็งขนาดเล็กจำนวนมากโคจรรอบดวงอาทิตย์ ลักษณะคล้ายกับแถบดาวเคราะห์น้อย ที่อยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี วัตถุที่อยู่ในแถบไคเปอร์ มีชื่อเรียกว่า วัตถุแถบไคเปอร์ (Kuiper Belt Object - KBO) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า วัตถุพ้นดาวเนปจูน (Trans-Neptunian Object - TNO) ซึ่งมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นน้ำแข็ง เชื่อกันว่าก้อนน้ำแข็งเหล่านี้ เป็นแหล่งกำเนิดของดาวหางคาบสั้น โดยชื่อแถบไคเปอร์นี้ ได้ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่ เจอราร์ด ไคเปอร์ ผู้ค้นพบ เดิมทีวัตถุที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่ถูกค้นพบในแถบไคเปอร์ คือ ดาวพลูโต ซึ่งถูกค้นพบเมื่อ..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ภูเขาไฟเมานาเคอาและแถบไคเปอร์

ภูเขาไฟเมานาเคอาและแถบไคเปอร์ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): นาซา

นาซา

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (National Aeronautics and Space Administration) หรือ นาซา (NASA) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ตามรัฐบัญญัติการบินและอวกาศแห่งชาติ เป็นหน่วยงานส่วนราชการ รับผิดชอบในโครงการอวกาศและงานวิจัยห้วงอากาศอวกาศ (aerospace) ระยะยาวของสหรัฐอเมริกา คอยจัดการหรือควบคุมระบบงานวิจัยทั้งกับฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 องค์การนาซาได้ประกาศภารกิจหลักคือการบุกเบิกอนาคตแห่งการสำรวจอวกาศ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ และงานวิจัยทางการบินและอวกาศ คำขวัญขององค์การนาซาคือ "เพื่อประโยชน์ของคนทุกคน" (For the benefit of all).

นาซาและภูเขาไฟเมานาเคอา · นาซาและแถบไคเปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ภูเขาไฟเมานาเคอาและแถบไคเปอร์

ภูเขาไฟเมานาเคอา มี 16 ความสัมพันธ์ขณะที่ แถบไคเปอร์ มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 3.57% = 1 / (16 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ภูเขาไฟเมานาเคอาและแถบไคเปอร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »