เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ภูเขาแปดพันเมตรและไรน์โฮลด์ เมสเนอร์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ภูเขาแปดพันเมตรและไรน์โฮลด์ เมสเนอร์

ภูเขาแปดพันเมตร vs. ไรน์โฮลด์ เมสเนอร์

อดเขาต่างๆ ของเทือกเขาหิมาลัยมองจากสถานีอวกาศนานาชาติ ยอดเขาแปดพันเมตร (Eight-thousander) คือยอดเขาสิบสี่ยอดIn making any "highest mountains" list, one needs to use a criterion to exclude subpeaks and only list independent mountains. รน์โฮลด์ เมสเนอร์ ไรน์โฮลด์ เมสเนอร์ (Reinhold Messner) เกิดวันที่ 17 กันยายน..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ภูเขาแปดพันเมตรและไรน์โฮลด์ เมสเนอร์

ภูเขาแปดพันเมตรและไรน์โฮลด์ เมสเนอร์ มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ยอดเขาอันนะปุรณะยอดเขานังกาปาร์บัตยอดเขาเอเวอเรสต์

ยอดเขาอันนะปุรณะ

อดเขาอันนาปุรณะใต้ (Annapurna South) และ ยอดเขาอันนาปุรณะ 1 (Annapurna I) เทือกเขาอันนะปุรณะ (Annapurna Massif) เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาหิมาลัยด้านตะวันตก ในประเทศเนปาล ซึ่งประกอบด้วยยอดเขาสูงเกินกว่า 7,200 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล ถึง 6 ยอด ที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ ยอดเขาอันนะปุรณะ 1 (Annapurna I) ยอดเขาสูงอันดับ 10 ของโลก หนึ่งใน 14 ยอดเขาที่สูงเกิน 8 พันเมตร คือมีความสูงถึง 8,091 เมตร นอกจากนี้ในทิวเขาอันนะปุรณะ มียอดเขาซารังโกต (Sarangkot) สูง 1,592 เมตรจากระดับน้ำทะเล ซึ่งเป็นจุดชมพระอาทิตย์ขึ้น ที่ได้รับการยกย่องว่าสวยที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ชื่อ "อันนะปูรณา" (अन्नपूर्णा, อนฺนปูรณา) เป็นภาษาสันสกฤต หมายถึง เทวีแห่งการเก็บเกี่ยว ซึ่งในคติทางฮินดู ถือเป็นปางที่ 8 ใน 9 ปางของ พระอุมาเทวี ชายาของพระศิวะ ที่ทรงเป็นผู้ประทาน ความอุดมสมบูรณ์ แก่พืชพันธุ์ธัญญาหาร เรียกอีกชื่อหนึ่งว่าปาง "มหาเคารี" ซึ่งเป็นปางที่มีผู้สักการบูชามากที่สุด รองจากปาง "กาลราตรี" หรือ "เจ้าแม่กาลี" และเพื่อแสดงความเคารพ รัฐบาลเนปาล ได้ประกาศสงวน ยอดเขามัจฉาปูชเร (Machhapuchhre) หรือ ยอดเขาหางปลา (Mt. Fishtail) ใกล้เมืองโปครา (Pokhara) เป็นเขตปลอดนักไต่เขา เพื่อให้เป็นที่สถิตของ องค์เทวีอันนะปุรณะ ยอดเขาอันนะปุรณะ 1 (Annapurna I) เป็นยอดเขาสูงเกิน 8,000 เมตรแห่งแรก ที่มีมนุษย์ไต่ถึง โดย เมารีซ เออร์โซ (Maurice Herzog) และ ลูอิส แลชเนล (Louis Lachenal) นักไต่เขาชาวฝรั่งเศส นำทีมอีก 7 คน ขึ้นสู่ยอดเขาสำเร็จในปี พ.ศ. 2493 หรือ 3 ปีก่อนที่ เซอร์เอ็ดมันด์ ฮิลลารี จะพิชิต ยอดเขาเอเวอร์เรสต์ และแม้ว่าเอเวอร์เรสต์ จะโด่งดังในฐานะยอดเขาสูงที่สุดในโลก แต่ในความเป็นจริง มีนักไต่เขามาเยือนอันนะปุรณะ ถึงกว่า 40,000 คนต่อปี ซึ่งมากกว่าเอเวอร์เรสต์ 2 เท่า เนื่องจากอันนะปุรณะ มีความหลากหลายทางสภาพภูมิศาสตร์ ทั้งทะเลสาบในหุบเขาโปคราที่มีอากาศร้อนชื้น ไปจนถึงภูเขาน้ำแข็ง ประกอบไปด้วยพรรณไม้ และสัตว์ป่า เช่น แพะภูเขา เสือดาวหิมะ รวมทั้งนกต่างๆ กว่า 400 สปีชี่ส์ โดยมีชนเผ่าที่แตกต่างกันถึง 7 ชนเผ่า ทำให้เส้นทางเดินเขารอบทิวเขาอันนะปุรณะหนึ่งสัปดาห์ ถือเป็นเส้นทางคลาสสิกแห่งหนึ่ง สำหรับนักไต่เขาทั่วโลก ยอดสูงสุดของอันนะปุรณะ ถือเป็นหนึ่งในยอดเขาอันตรายที่สุดในโลก มีอัตราการเสียชีวิตของนักไต่เขาสูงถึงร้อยละ 40 จากสถิติจนถึงปี พ.ศ. 2548 มีผู้พิชิตยอดเขาอันนะปุรณะสำเร็จ 103 คน และมีผู้เสียชีวิตถึง 56 คน ส่วนมากเนื่องจากหิมะถล่มที่เกิดขึ้นเป็นประจำ.

ภูเขาแปดพันเมตรและยอดเขาอันนะปุรณะ · ยอดเขาอันนะปุรณะและไรน์โฮลด์ เมสเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขานังกาปาร์บัต

อดเขานังกาปาร์บัต (Nanga Parbat; نانگا پربت) เป็นยอดเขาสูงสุดในโลกอันดับที่ 9 นังกาปาร์บัตแปลว่า “ยอดเขาเปลือย” “Parbat” มาจากภาษาสันสกฤตว่า “บรรพต” หรือ “ปรฺวต” (पर्वत) ที่แปลว่าภูเขาหรือหิน และคำว่า “Nanga” ที่มาจากภาษาสันสกฤตว่า “นคฺน” (नग्न) ที่แปลว่าเปลือยหรือว่าง แต่เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “ภูเขานักฆ่า” (Killer Mountain) เพราะเป็นภูเขาที่มีอันตรายที่สุดในบรรดายอดเขาแปดพันเมตรสิบสี่ยอด โดยเฉพาะในครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 20 แม้หลังจากนั้นอันตรายจะลดลงแต่ยังปีนได้ยากอยู่ ผู้ที่พิชิตยอดเขานี้สำเร็จเป็นคนแรก คือ แฮร์มันน์ บูล (Hermann Buhl) นักปีนเขาชาวออสเตรีย เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม..

ภูเขาแปดพันเมตรและยอดเขานังกาปาร์บัต · ยอดเขานังกาปาร์บัตและไรน์โฮลด์ เมสเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขาเอเวอเรสต์

อดเขาเอเวอเรสต์ (Mount Everest) เป็นยอดเขาหนึ่งในเทือกเขาหิมาลัย ซึ่งเกิดจากการชนกันของแผ่นเปลือกโลกยูเรเซียนและแผ่นเปลือกโลกอินเดีย ในทางภูมิรัฐศาสตร์ ยอดเขาเอเวอเรสต์ถือเป็นจุดแบ่งพรมแดนระหว่างประเทศเนปาลและทิเบต โดยชาวเนปาลเรียกยอดเขาเอเวอเรสต์ว่า สครมาตา (ภาษาสันสกฤต: सगरमाथा หมายถึง มารดาแห่งท้องสมุทร) ส่วนชาวทิเบตขนานนามยอดเขาแห่งนี้ว่า โชโมลังมา (จากภาษาทิเบต: จูมู่หลั่งหม่า (珠穆朗玛) หมายถึง มารดาแห่งสวรรค์) ชื่อยอดเขาเอเวอเรสต์นั้น ตั้งโดย เซอร์แอนดรูว์ วอ นักสำรวจประเทศอินเดียชาวอังกฤษ เพื่อเป็นเกียรติแก่ เซอร์จอร์จ อีฟเรสต์ นักสำรวจประเทศอินเดียรุ่นก่อนหน้า (คำว่า Everest นี้ คนส่วนมากอ่านออกเสียงเป็น เอเวอเรสต์ ขณะที่เซอร์จอร์จอ่านออกเสียงชื่อสกุลของตัวเองว่า อีฟเรสต์) ซึ่งก่อนหน้านั้นนักสำรวจเรียกยอดเขาแห่งนี้เพียงว่า ยอดที่สิบห้า (Peak XV) คนทั่วไปจดจำชื่อเอเวอเรสต์ได้ในฐานะยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก แต่สำหรับชาวเชอร์ปา (Sherpa) และนักปีนเขา (climber) บางคนแล้ว ยอดเขาเอเวอเรสต์ไม่ได้เป็นเพียงแค่จุดที่สูงที่สุดบนพื้นโลกเท่านั้น หากยังเป็นจุดหมายสูงสุดในชีวิตพวกเขาด้วย การไปให้ถึงยอดเขาเอเวอเรสต์เป็นเรื่องที่ยากลำบาก แต่เมื่อยอดเขาเอเวอเรสต์ถูกพิชิตได้ นั่นหมายความว่าขีดจำกัดของมนุษยชาติได้เพิ่มขึ้นอีกขั้นหนึ่งแล้ว.

ภูเขาแปดพันเมตรและยอดเขาเอเวอเรสต์ · ยอดเขาเอเวอเรสต์และไรน์โฮลด์ เมสเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ภูเขาแปดพันเมตรและไรน์โฮลด์ เมสเนอร์

ภูเขาแปดพันเมตร มี 11 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไรน์โฮลด์ เมสเนอร์ มี 15 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 11.54% = 3 / (11 + 15)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ภูเขาแปดพันเมตรและไรน์โฮลด์ เมสเนอร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: