ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ภูมิคุ้มกันบกพร่องและมะเร็ง
ภูมิคุ้มกันบกพร่องและมะเร็ง มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): การติดเชื้อมะเร็งเม็ดเลือดขาว
การติดเชื้อ
การติดเชื้อ หมายถึงการเจริญของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นบนร่างกายของโฮสต์ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายหรือเกิดโรคได้ จุลชีพก่อโรคจะมีการพยายามใช้ทรัพยากรของโฮสต์เพื่อใช้ในการเพิ่มจำนวนของตัวเอง จุลชีพก่อโรคจะรบกวนการทำงานปกติของร่างกายโฮสต์ซึ่งอาจทำให้เกิดบาดแผลเรื้อรัง (chronic wound), เนื้อตายเน่า (gangrene), ความพิการของแขนและขา และอาจทำให้เสียชีวิตได้ การตอบสนองของโฮสต์ต่อการติดเชื้อ เรียกว่า การอักเสบ (inflammation) จุลชีพก่อโรคที่ทำให้เกิดการติดเชื้อมักจะเป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กซึ่งมีความหลากหลายเช่นแบคทีเรีย ไวรัส ปรสิต เชื้อรา พรีออน หรือไวรอยด์ ภาวะพึ่งพิงซึ่งกันและกันระหว่างปรสิตและโฮสต์ซึ่งปรสิตได้ประโยชน์แต่โฮสต์เสียประโยชน์นั้นในทางนิเวศวิทยาเรียกว่าภาวะปรสิต (parasitism) แขนงของวิชาแพทยศาสตร์ซึ่งเน้นศึกษาในเรื่องการติดเชื้อและจุลชีพก่อโรคคือสาขาวิชาโรคติดเชื้อ (infectious disease) การติดเชื้ออาจแบ่งออกเป็นการติดเชื้อปฐมภูมิ (primary infection) คือการติดเชื้อหลังจากการได้รับจุลชีพก่อโรคเป็นครั้งแรก และการติดเชื้อทุติยภูมิ (secondary infection) ซึ่งหมายถึงการติดเชื้อที่เกิดขึ้นหลังหรือระหว่างการรักษาการติดเชื้อปฐมภูม.
การติดเชื้อและภูมิคุ้มกันบกพร่อง · การติดเชื้อและมะเร็ง ·
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือที่นิยมเรียกกันว่า ลูคิเมีย (Leukemia, Leukeamia) เป็นมะเร็งที่เกิดจากความผิดปกติของเซลล์เม็ดเลือด ทำให้มีการสร้างเม็ดเลือดชนิดผิดปกติออกมามากกว่าปกติ และจะไปรบกวนการสร้างเม็ดเลือดปกติ ทำให้จำนวนเม็ดเลือดที่ปกตินั้นมีจำนวนลดน้อยลง.
ภูมิคุ้มกันบกพร่องและมะเร็งเม็ดเลือดขาว · มะเร็งและมะเร็งเม็ดเลือดขาว ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ภูมิคุ้มกันบกพร่องและมะเร็ง มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ภูมิคุ้มกันบกพร่องและมะเร็ง
การเปรียบเทียบระหว่าง ภูมิคุ้มกันบกพร่องและมะเร็ง
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง มี 18 ความสัมพันธ์ขณะที่ มะเร็ง มี 50 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 2.94% = 2 / (18 + 50)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ภูมิคุ้มกันบกพร่องและมะเร็ง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: