โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษาฮีบรูและภาษาฮีบรูไบเบิล

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ภาษาฮีบรูและภาษาฮีบรูไบเบิล

ภาษาฮีบรู vs. ภาษาฮีบรูไบเบิล

ษาฮีบรู (Modern Hebrew, อิฟริท) เป็นภาษาเซมิติก (Semitic) ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก (Afro–Asiatic) เป็นภาษาที่เก่าแก่ โดยมีอายุมาอย่างน้อยตั้งแต่ 3,500 ปีที่แล้ว ในอดีต เคยเป็นภาษาตาย เหมือนดั่งภาษาบาลี สันสกฤต และละติน โดยใช้เป็นภาษาที่ใช้เพียงแต่ในวงจำกัด หนังสือต่างทางศาสนา และสถานที่ทางศาสนาเท่านั้น แต่ปัจจุบัน มีการกลับมาใช้เป็นภาษาพูดใหม่ และเป็นภาษาที่ชาวอิสราเอลใช้สื่อสารกันในชีวิตประจำวัน โดยภายในในอิสราเอล มีผู้พูดมากกว่า 4,380,000 คน ซึ่งเป็นภาษาราชการคู่กับภาษาอาหรับ นอกอิสราเอล ภาษาฮีบรูยังมีผู้พูดอีกจำนวนหนึ่ง ซึ่งโดยมากเป็นชุมชนชาวยิว ทะนัค (Tanakh) หรือพระคัมภีร์เก่า (The Old Testament) ของศาสนายิว เขียนไว้ด้วยภาษาฮีบรู ซึ่งถือว่าเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ (לשון הקודש Leshon ha-Kodesh: เลโชน ฮา-โกเดช) ของชาวยิวตั้งแต่สมัยโบราณ นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ระบุว่าหลัง 57 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งเป็นยุคที่จักรวรรดิบาบิโลเนียใหม่ทำลายกรุงเยรูซาเลมและอพยพชาวยิวไปยังบาบิโลนและพระเจ้าไซรัสมหาราชแห่งเปอร์เซียปลดปล่อยชาวยิวให้เป็นไท ภาษาฮีบรูในแบบที่เขียนในพระคัมภีร์เก่า ถูกแทนที่ด้วยภาษาฮีบรูใหม่และภาษาแอราเมอิกที่ใช้ในท้องถิ่นนั้น หลังจากพุทธศตวรรษที่ 7 จักรวรรดิโรมันเข้ายึดครองกรุงเยรูซาเล็ม และอพยพชาวยิวออกไป ภาษาฮีบรูเริ่มใช้เป็นภาษาพูดน้อยลงแต่ยังคงเป็นภาษาทางศาสนาและภาษาในการเขียน หลังจากเยรูซาเล็มถูกชาวบาบิโลนทำลายครั้งแรก 586 ปีก่อนคริสตกาล ภาษาอย่างในพระคัมภีร์เก่าเริ่มถูกแทนที่ด้วยคำในลักษณะใหม่ หลังจากจำนวนประชากรของชาวยิวในบางส่วนของจูเดีย (Judea) ลดลง ภาษาฮีบรูเลิกใช้เป็นภาษาพูดราวคริสต์ศตวรรษที่ 2 แต่ยังคงเป็นภาษาเขียนที่สำคัญต่อเนื่องมาตลอดหลายศตวรรษ นอกจากจะใช้ในศาสนาแล้ว งานเขียนสำหรับวัตถุประสงค์อื่น ๆ เช่น เขียนตำรา จดหมาย ปรัชญา การแพทย์ บทกวี บันทึกศาล ล้วนใช้ภาษาฮีบรู ซึ่งได้เข้ากับวงความรู้และคำเฉพาะใหม่ ๆ โดยคำยืมและคำประดิษฐ์ใหม่ ภาษาฮีบรูยังคงถูกรักษาไว้ในฐานะภาษาเขียนโดยชุมชนชาวยิวทั่วโลก จนกระทั่งมีการตั้งลัทธิไซออนนิสต์เพื่อฟื้นฟูชาติยิว สมาชิกไซออนนิสต์ส่งเสริมให้มีการแทนที่ภาษาพูดของชาวยิวในขณะนั้น เช่นภาษาอาหรับ ภาษาจูเดสโม (Judezmo, ภาษาลาดิโน Ladino ก็เรียก) ภาษายิดดิช ภาษารัสเซีย และภาษาอื่น ๆ ของชาวยิวที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ เป็นภาษาของศาสนายิวส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอล ภาษาฮีบรู มีการสร้างคำใหม่โดยยืมจากภาษาฮีบรูในไบเบิลหรือจากภาษาอาหรับและภาษาอราเมอิก รวมทั้งภาษาในยุโรป เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาเยอรมัน ภาษาฮีบรูกลายเป็นภาษาราชการของปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษตั้งแต.. ษาฮีบรูไบเบิล (Biblical Hebrew)หรือภาษาฮีบรูคลาสสิก (Classical Hebrew) เป็นรูปแบบโบราณของภาษาฮีบรูที่ใช้เขียนคัมภีร์ไบเบิลและจารึกในอิสราเอล เชื่อว่าเป็นรูปแบบที่เคยใช้พูดในอิสราเอลสมัยโบราณ ไม่มีการใช้เป็นภาษาพูดในปัจจุบัน แต่ยังมีการศึกษาในฐานะภาษาทางศาสนาของชาวยิว ทฤษฎีของศาสนาคริสต์ นักภาษาศาสตร์และนักโบราณคดีของอิสราเอลเพื่อให้เข้าใจไบเบิลภาษาฮีบรูและปรัชญาของชาวเซมิติกมากขึ้น มีการสอนในโรงเรียนในประเทศอิสราเอล ภาษาฮีบรูไบเบิลสามารถอ่านได้บ้างโดยผู้ที่เข้าใจภาษาฮีบรูสมัยใหม่ ซึ่งมีความแตกต่างกันบ้างในด้านคำศัพท์ ไวยากรณ์ และการออกเสียง แม้ว่ากฎของไวยากรณ์ของภาษาฮีบรูไบเบิลและภาษาฮีบรูสมัยใหม่มักจะต่างกัน แต่ภาษาฮีบรูไบเบิลบางครั้งมีใช้ในวรรณคดีภาษาฮีบรูสมัยใหม่ หน่วยในภาษาฮีบรูไบเบิลมักจะใช้ในบทสนทนาและสื่อในอิสราเอล.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ภาษาฮีบรูและภาษาฮีบรูไบเบิล

ภาษาฮีบรูและภาษาฮีบรูไบเบิล มี 29 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชาวยิวกลุ่มภาษาเซมิติกกลุ่มภาษาเซมิติกกลางกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือภาษาฮีบรูมิซนะห์ภาษาฮีบรูเซฟาร์ดีภาษาแอราเมอิกอักษรกรีกอักษรฮีบรูประเทศอิสราเอลBDFHIJKLMNPQSTVWXZ

ชาวยิว

ว (ภาษาฮิบรู: יהודים) หรือที่เรียกว่า ชาวยิว (Jewish people) เป็นชนชาติและกลุ่มศาสนพันธุ์หนึ่ง ซึ่งมีเชื้อสายมาจากวงศ์วานอิสราเอลหรือชนเผ่าฮีบรูในแผ่นดินตะวันออกใกล้ยุคโบราณ ซึ่งคัมภีร์ฮีบรูได้ระบุว่า ชาวยิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงเลือกสรรที่จะอุปถัมป์ค้ำชูไว้เหนือชาติอื่นๆ ด้วยความเชื่อว่ายิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงค้ำชูและมีศาสนายูดาห์เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวนี้เอง ทำให้แม้ชาวยิวจะกระจัดกระจายไปในหลายดินแดน แต่ก็ยังคงความเป็นกลุ่มก้อนและมีการสืบทอดความเป็นยิวจากรุ่นสู่รุ่นอย่างไม่มีเสื่อมถอย ปัจจุบันบุคคลเชื้อสายยิวทั่วทั้งโลกมีอยู่ราว 14.4 ถึง 17.5 ล้านคน ซึ่งส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอลและสหรัฐอเมริก.

ชาวยิวและภาษาฮีบรู · ชาวยิวและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติก

หมายของอมาร์นา เขียนด้วย ภาษาอัคคาเดีย กลุ่มภาษาเซมิติก (Semitic languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่มีผู้พูดมากกว่า 300 ล้านคนในปริเวณแอฟริกาเหนือ ตะวันออกกลางและจะงอยของแอฟริกา เป็นสาขาย่อยในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก และเป็นสาขาเดียวของตระกูลนี้ที่มีผู้พูดในทวีปเอเชีย กลุ่มภาษาเซมิติกที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษาอาหรับ (ภาษาแม่ 325 ล้านคน) รองลงมาคือภาษาอัมฮารา (27 ล้านคน) ภาษาตึกรึญญา (6.9 ล้านคน) และภาษาฮีบรู (5 ล้านคน) กลุ่มภาษาเซมิติกเป็นกลุ่มภาษาแรกๆ ที่มีระบบการเขียน ภาษาอัคคาเดียเริ่มเขียนตั้งแต่ราว 2,000 ปีก่อนพุทธศักราช นอกจากนั้นยังมีอักษรโบราณที่ใช้เขียนกลุ่มภาษาเซมิติกมากมาย เช่น อักษรฟินิเชีย อักษรอาหรับ อักษรแอราเมอิก อักษรซีรีแอก อักษรอาระเบียใต้ และอักษรเอธิโอปิก มีภาษามอลตาเท่านั้นที่เป็นกลุ่มภาษานี้แต่เขียนด้วยอักษรโรมัน ชื่อของกลุ่มภาษานี้มาจาก เซม บุตรชายของโนอาห์ ในไบเบิล.

กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาฮีบรู · กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติกกลาง

กลุ่มภาษาเซมิติกกลาง เป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเซมิติก ประกอบด้วยภาษาอาหรับและกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ (รวม ภาษาคานาอันไนต์ ภาษาฮีบรู ภาษาอราเมอิก และภาษายูการิติก)ในบางครั้ง ในกลุ่มนี้ ยังแบ่งเป็นกลุ่มภาษาเซมิติกกลางใต้ (รวมภาษาอาหรับและภาษาฮีบรู) กับภาษาอราเมอิก การแบ่งแยกระหว่างภาษาอาหรับกับกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือคือการสร้างรูปพหูพจน์ ภาษาอาหรับสร้างโดยการแทรกสระ ส่วนกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือสร้างด้วยปัจจัย เช่น.

กลุ่มภาษาเซมิติกกลางและภาษาฮีบรู · กลุ่มภาษาเซมิติกกลางและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก

กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก (West Semitic languages) เป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเซมิติกที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางและได้รับการสนับสนุนจาก Robert Hetzron และ John Huehnergard ผู้เชี่ยวชาญด้านกลุ่มภาษาเซมิติก ซึ่งแบ่งกลุ่มภาษาเซมิติกออกเป็นสองกลุ่มคือกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันออกและตะวันตก กลุ่มตะวันออกประกอบด้วยภาษาเอ็บลาไอต์ และภาษาอัคคาเดีย ส่วนกลุ่มตะวันตกเป็นกลุ่มใหญ่ของกลุ่มภาษาเซมิติก ประกอบด้วยกลุ่มย่อยได้แก่ กลุ่มเอธิโฮปิก กลุ่มอาระเบียใต้ ภาษาอาหรับ และกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ (ภาษายูการิติก ภาษาฮีบรู ภาษาอราเมอิก) กลุ่มภาษาเอธิโอปิกและอาระเบียใต้ มีลักษณะใกล้เคียงกันมาก บางครั้งรวมกันเป็นกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ การจัดตำแหน่งของภาษาอาหรับภายในกลุ่มเซมิติกยังสับสน บางครั้งจัดให้อยู่ในกลุ่มเซมิติกใต้ บางครั้งรวมกับกลุ่มตะวันตกเฉียงเหนือเป็นกลุ่มภาษาเซมิติกกลาง หมวดหมู่:กลุ่มภาษาเซมิติก.

กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกและภาษาฮีบรู · กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ

กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ (Northwest Semitic languages) เป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก มีผู้พูดประมาณ 8 ล้านคนในปัจจุบัน แบ่งได้เป็น 3 สาขา คือ ภาษายูการิติก (ตายแล้ว) ภาษาคานาอันไนต์ (รวมภาษาฮีบรู) และภาษาอราเมอิก บางครั้งรวมกลุ่มภาษานี้เข้ากับภาษาอาหรับแล้วจัดเป็นกลุ่มภาษาเซมิติกกลาง ภาษายูการิติกที่ตายแล้วเป็นหลักฐานรุ่นแรกสุดของกลุ่มภาษานี้ ภาษายูการิติกไม่มีเสียง /dˤ/ (ḍ) แต่แทนที่ด้วยเสียง /sˤ/ (ṣ) (ลักษณะเดียวกับที่ปรากฏในภาษาอัคคาเดีย) เสียงนี้กลายเป็นเสียง /ʕ/ ในภาษาอราเมอิก (ในภาษาอราเมอิกโบราณ เสียงนี้เขียนด้วยอักษรกอฟ) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าภาษายูการิติกไม่ได้เป็นภาษาต้นแบบของกลุ่มนี้ ตัวอย่างการเปลี่ยนเสียงนี้พบได้ในคำว่า “โลก”: ภาษายูการิติก /ʔarsˤ/ (’arṣ), ภาษาฮีบรู /ʔɛrɛsˤ/ (’ereṣ) และภาษาอราเมอิก /ʔarʕaː/ (’ar‘ā’) ภาษายูการิติกต่างจากภาษาในกลุ่มเดียวกันตรงที่ว่ายังคงมีคำที่ขึ้นต้นด้วย /w/ ในขณะที่ภาษาที่เหลือแทนที่ด้วย /y/ แหล่งที่เป็นต้นกำเนิดของภาษานี้ได้แก่บริเวณที่ในปัจจุบันเป็นประเทศอิสราเอล ซีเรีย จอร์แดน เลบานอนและคาบสมุทรไซนาย การเลื่อนเสียงสระจาก /aː/ เป็น /oː/ เป็นการแยกภาษาคานาอันไนต์ออกจากภาษายูการิติก ตัวอย่างการเปลี่ยนเสียง ได้แก.

กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือและภาษาฮีบรู · กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรูมิซนะห์

ษาฮีบรูมิซนะห์ (Mishnaic Hebrew language) หรือภาษาฮีบรูแรบไบรุ่นแรก (Early Rabbinic Hebrew language) เป็นลูกหลานโดยตรงของภาษาฮีบรูไบเบิลภาษาหนึ่ง ที่รักษาไว้โดยชาวกรุงในบาบิโลน และได้รับการบันทึกโดยชาวยิวที่เขียนมิซนะห์ สำเนียงนี้ไม่ได้ถูกใช้โดยชาวซามาริทันที่รักษาสำเนียงของตนในรูปภาษาฮีบรูซามาริทัน.

ภาษาฮีบรูและภาษาฮีบรูมิซนะห์ · ภาษาฮีบรูมิซนะห์และภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรูเซฟาร์ดี

ษาฮีบรูเซฟาร์ดี (Sephardi Hebrew)เป็นระบบการออกเสียงของภาษาฮีบรูไบเบิลที่มาจากการใช้งานของชาวยิวเซฟาร์ดี สัทวิทยาของภาษานี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาที่ติดต่อด้วยเช่น ภาษาลาดิโน ภาษาโปรตุเกส ภาษาเปอร์เซีย ภาษาดัตช์ ภาษาอาหรั.

ภาษาฮีบรูและภาษาฮีบรูเซฟาร์ดี · ภาษาฮีบรูเซฟาร์ดีและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแอราเมอิก

ษาแอราเมอิก (Aramaic language) เป็นภาษาตระกูลเซมิติกที่มีความเป็นมายาวนานกว่า 3,000 ปืเป็นภาษากลางของบริเวณตะวันออกใกล้ในช่วง 157 ปีก่อนพุทธศักราชถึง..

ภาษาฮีบรูและภาษาแอราเมอิก · ภาษาฮีบรูไบเบิลและภาษาแอราเมอิก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรกรีก

อักษรกรีก เป็นอักษรที่ใช้สำหรับเขียนภาษากรีก โดยมีพัฒนาการมาตั้งแต่ยุคคลาสสิก ประมาณ 357 ปีก่อนพุทธศักราช (ศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสต์ศักราช) และยังคงใช้สืบต่อเรื่อยมา นับเป็นอักษรที่เก่าแก่ที่สุดแบบหนึ่งที่ยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน ในสมัยกรีกโบราณนั้น อักษรกรีกยังใช้เขียนแทนจำนวนอีกด้วย ซึ่งในกรณีนี้จะเรียกว่าเลขกรีก ในทำนองเดียวกับเลขโรมัน ทุกวันนี้เราใช้อักษรกรีกเป็นสัญลักษณ์คณิตศาสตร์ เป็นชื่อดาวฤกษ์ เป็นชื่อกลุ่มภราดรและกลุ่มภคินี และใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ อีกมาก.

ภาษาฮีบรูและอักษรกรีก · ภาษาฮีบรูไบเบิลและอักษรกรีก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฮีบรู

อรมันในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เขียนโดย Elijah Levita อักษรฮีบรูเป็นอักษรตระกูลเซมิติกไร้สระชนิดหนึ่ง ใช้ในการเขียนงานในภาษาฮีบรู ในยุคแรกๆอักษรฮีบรูโบราณพัฒนามาจากอักษรฟินิเชีย อักษรฮีบรูรุ่นใหม่พัฒนามาจากอักษรอราเมอิกรุ่นแรกๆ จารึกภาษาฮีบรูพบครั้งแรกเมื่อ 557 ปีก่อนพุทธศักราช อักษรนี้เขียนจากขวาไปซ้ายในแนวนอน ตัวอักษรบางตัว เช่น กาฟ, เมม, นุน, ฟี และซาดดี มีรูปท้ายคำ ซึ่งจะพบในตำแหน่งสุดท้ายของคำเท่านั้น ไม่มีตัวเลข ใช้เลขอารบิกแทน สระเสียงยาวกำหนดโดยตัว อะเลฟ, วาว และโยด/ยุด ไม่แสดงสระเสียงสั้นยกเว้นในไบเบิล กวีนิพนธ์และหนังสือสำหรับเด็กและชาวต่างชาต.

ภาษาฮีบรูและอักษรฮีบรู · ภาษาฮีบรูไบเบิลและอักษรฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิสราเอล

ประเทศอิสราเอล (Israel; יִשְׂרָאֵל; إِسْرَائِيل) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐอิสราเอล (State of Israel; מְדִינַת יִשְׂרָאֵל; دَوْلَة إِسْرَائِيل) เป็นประเทศในตะวันออกกลางบนชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและชายฝั่งเหนือของทะเลแดง มีเขตแดนทางบกติดต่อกับประเทศเลบานอนทางทิศเหนือ ประเทศซีเรียทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศจอร์แดนทางทิศตะวันออก ดินแดนเวสต์แบงก์และฉนวนกาซาของปาเลสไตน์ทางทิศตะวันออกและตะวันตกตามลำดับ และประเทศอียิปต์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประเทศอิสราเอลมีภูมิลักษณ์หลากหลายแม้มีพื้นที่ค่อนข้างเล็ก เทลอาวีฟเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีของประเทศ ส่วนที่ตั้งรัฐบาลและเมืองหลวงตามประกาศคือ เยรูซาเลม แม้อำนาจอธิปไตยของรัฐเหนือเยรูซาเลมยังไม่มีการรับรองในระดับนานาประเทศThe Jerusalem Law states that "Jerusalem, complete and united, is the capital of Israel" and the city serves as the seat of the government, home to the President's residence, government offices, supreme court, and parliament.

ประเทศอิสราเอลและภาษาฮีบรู · ประเทศอิสราเอลและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

B

B (ตัวใหญ่:B ตัวเล็ก:b ออกเสียง บี) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 2 ใช้แทนเสียงพยัญชนะจากริมฝีปาก (ขึ้นกับแต่ละภาษา) มักจะเป็นเสียงกัก ริมฝีปาก ก้อง.

Bและภาษาฮีบรู · Bและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

D

D (ตัวใหญ่:D ตัวเล็ก:d) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 4.

Dและภาษาฮีบรู · Dและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

F

F (ตัวใหญ่:F ตัวเล็ก:f) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 6.

Fและภาษาฮีบรู · Fและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

H

H (ออกเสียงว่า เอช หรือเฮช"H" Oxford English Dictionary, 2nd edition (1989); Merriam-Webster's Third New International Dictionary of the English Language, Unabridged (1993); "aitch", op. cit.) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 8 ในการออกเสียงตามสัทอักษรสากลแสดงด้วยเสียง 2 เสียง คือ แสดงเสียงในลักษณะเสียงเสียดแทรก เส้นเสียง ไม่ก้อง และ แสดงเสียงในลักษณะเสียงเสียดแทรก ลิ้นปิดกล่องเสียง ไม่ก้อง.

Hและภาษาฮีบรู · Hและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

I

I เป็นอักษรละติน ในลำดับที่ 9.

Iและภาษาฮีบรู · Iและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

J

J (เจ) เป็นอักษรละติน ในลำดับที่ 10 เป็นตัวอักษรตัวสุดท้ายที่ถูกเพิ่มเข้ามาในอักษรละติน.

Jและภาษาฮีบรู · Jและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

K

K (ตัวใหญ่:k ตัวเล็ก:k) เป็นอักษรละติน นับเป็นอักษรตัวที่ 11 ของอักษรในภาษาอังกฤษ.

Kและภาษาฮีบรู · Kและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

L

L (ตัวใหญ่:L ตัวเล็ก:l) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 12.

Lและภาษาฮีบรู · Lและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

M

M (ตัวใหญ่:M ตัวเล็ก:m) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 13.

Mและภาษาฮีบรู · Mและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

N

N (ตัวใหญ่:N ตัวเล็ก:n) เป็นอักษรละตินในลำดับที่ 14.

Nและภาษาฮีบรู · Nและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

P

P (ตัวใหญ่: P ตัวเล็ก: p) เป็นอักษรละติyyน ลำดับที่ 16.

Pและภาษาฮีบรู · Pและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

Q

Q (ตัวใหญ่:Q ตัวเล็ก:q) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 17.

Qและภาษาฮีบรู · Qและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

S

S (ตัวใหญ่: S ตัวเล็ก: s) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 19.

Sและภาษาฮีบรู · Sและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

T

T (ตัวใหญ่:T ตัวเล็ก:t) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 20.

Tและภาษาฮีบรู · Tและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

V

V (ตัวใหญ่:V ตัวเล็ก:v) เป็นอักษรละติน ตัวที่ 22.

Vและภาษาฮีบรู · Vและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

W

W (ตัวใหญ่:W ตัวเล็ก:w) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 23.

Wและภาษาฮีบรู · Wและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

X

X เป็นอักษรละตินลำดับที่ 24 ซึ่งในภาษากรีกตัวอักษร X อ่านว่า "ไค" ตัวอักษร X เป็นตัวอักษรที่ไม่มีในภาษาอิตาลียกเว้นคำยืมจากภาษาอื่น และไม่มีคำศัพท์ภาษาอังกฤษดั้งเดิมขึ้นต้นด้วยตัวอักษร X ในภาษาอังกฤษบางครั้งจะอ่านเหมือนคำว่า ไค ใช้แทนคำว่า คริสต์ ซึ่งเห็นได้ใน X'mas (คริสต์มาส) และมีการใช้ซึ่งอ่านว่า "ครอส" แทนเครื่องหมายไขว้ เช่นในคำว่า Xing.

Xและภาษาฮีบรู · Xและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

Z

Z (ตัวใหญ่:Z ตัวเล็ก:z) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 26 และเป็นลำดับสุดท้.

Zและภาษาฮีบรู · Zและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ภาษาฮีบรูและภาษาฮีบรูไบเบิล

ภาษาฮีบรู มี 168 ความสัมพันธ์ขณะที่ ภาษาฮีบรูไบเบิล มี 38 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 29, ดัชนี Jaccard คือ 14.08% = 29 / (168 + 38)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ภาษาฮีบรูและภาษาฮีบรูไบเบิล หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »