โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษาสิงหลและสกุลเพเธีย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ภาษาสิงหลและสกุลเพเธีย

ภาษาสิงหล vs. สกุลเพเธีย

ษาสิงหล (සිංහල) เป็นภาษาของชาวสิงหล ซึ่งเป็นกลุ่มชนพื้นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศศรีลังกา เป็นภาษาในสาขาอินโด-อารยันของตระกูลอินโด-ยูโรเปียน มีสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษามัลดีฟส์ของประเทศมัลดีฟส์ มีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 15 ล้านคน เจ้าชายวิชายาและพรรคพวกนำชาวสิงหลอพยพเข้าสู่เกาะลังกาเมื่อราว 500 ปีก่อนพุทธศักราช วรรณคดีจำนวนมากในศรีลังกาได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนา และวรรณคดีอินเดีย การติดต่อกับชาวทมิฬทำให้มีศัพท์ภาษาทมิฬปนอยู่ นอกจากนี้ยังมีคำยืมจากภาษาดัตช์ ภาษาโปรตุเกส และภาษาอังกฤษ เป็นจำนวนมากเพราะเคยถูกปกครองโดยชาติเหล่านี้ เขียนด้วยอักษรสิงหลที่พัฒนามาจากอักษรพราหมี รัฐบาลศรีลังกาประกาศให้ภาษาสิงหลเป็นภาษาราชการเมื่อปี พ.ศ. 2499 และบังคับให้โรงเรียนทุกโรงเรียนสอนหนังสือด้วยภาษาสิงหล ทำให้ชาวทมิฬ ไม่พอใ. กุลเพเธีย เป็นสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Pethia ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) คำว่า Pethia มาจากภาษาสิงหลคำว่า pethia หมายถึง สิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ เช่น ปลาตะเพียนขนาดเล็ก ๆ ส่วนใหญ่เป็นปลาที่พบได้ในประเทศอินเดีย รวมถึงพม่า มีลักษณะสำคัญ คือ เป็นปลาขนาดเล็กที่มีสีสันสดใส มีก้านครีบแข็งที่ครีบหลัง ที่ขอบด้านท้ายเป็นซี่จักรแข็งแรง ไม่มีหนวดที่ขากรรไกรคู่หน้า ส่วนคู่หลังอาจพบหรือไม่พบแล้วแต่ชนิด ริมฝีปากบาง เกล็ดที่มีท่อเส้นข้างลำตัวอาจไม่พบตลอดแนวเกล็ดด้านข้างจำนวน 19-24 เกล็ด ในบางชนิด ครีบหลังอยู่กึ่งกลางลำตัวล้ำแนวจุดเริ่มต้นของครีบท้อง มักมีจุดกลมรีในแนวยาวบริเวณคอดหาง และแต้มกลมเหนือแนวครีบอก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ภาษาสิงหลและสกุลเพเธีย

ภาษาสิงหลและสกุลเพเธีย มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ภาษาสิงหลและสกุลเพเธีย

ภาษาสิงหล มี 22 ความสัมพันธ์ขณะที่ สกุลเพเธีย มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (22 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ภาษาสิงหลและสกุลเพเธีย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »