โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษาบันยูมาซันและรายชื่อภาษา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ภาษาบันยูมาซันและรายชื่อภาษา

ภาษาบันยูมาซัน vs. รายชื่อภาษา

ษาบันยูมาซัน จัดเป็นสำเนียงหนึ่งของภาษาชวา ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในเขตบันยูมาซันในชวากลาง และบริเวณรอบๆเทือกเขาซลาเมตและแม่น้ำเซอรายู บริเวณใกล้เคียงในชวาตะวันตกและทางเหนือของจังหวัดบันเติน อยู่ในภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตก ลักษณะทางภาษาศาสตร์ใกล้เคียงกับภาษามลายู ภาษาซุนดา ภาษามาดูรา ภาษาบาหลี. รายชื่อภาษาต่าง ๆ ทั่วโลกเรียงตามลำดับตัวอักษร.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ภาษาบันยูมาซันและรายชื่อภาษา

ภาษาบันยูมาซันและรายชื่อภาษา มี 8 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภาษาชวาภาษาบาหลีภาษาญี่ปุ่นภาษามลายูภาษามาดูราภาษาซุนดาภาษาไทยภาษาเกาหลี

ภาษาชวา

ษาชวา คือภาษาพูด ของผู้ที่อาศัยอยู่บนตอนกลางและตะวันออกของเกาะชวาในประเทศอินโดนีเซีย เป็นภาษาแม่ของมากกว่า 75,500,000 คน ภาษาชวาอยู่ในภาษากลุ่มออสโตรนีเซียน จึงสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซียและภาษามลายู ผู้พูดภาษาชวา พูดภาษาอินโดนีเซียด้วย สำหรับวัตถุประสงค์ทางการและธุรกิจ และเพื่อสื่อสารกับชาวอินโดนีเซียอื่น ๆ มีชุมชนผู้พูดภาษาชวาขนาดใหญ่ในประเทศมาเลเซีย โดยเฉพาะรัฐเซอลาโงร์และยะโฮร์ (คีร์ โตโย รัฐมนตรีของเซอลาโงร์ เป็นชนพื้นเมืองของชวา) อย่างไรก็ดี ภาษาชวาไม่สามารถเข้าใจกันกับภาษามลายูได้.

ภาษาชวาและภาษาบันยูมาซัน · ภาษาชวาและรายชื่อภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบาหลี

ษาบาหลี เป็นภาษาท้องถิ่นของเกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ใช้พูดในเกาะชวา เกาะบาหลีและเกาะลอมบอก มีผู้พูด 3.8 ล้านคน คิดเป็น 2.1 % ของประชากรอินโดนีเซียทั้งประเทศ โดยที่ชาวบาหลีส่วนใหญ่จะพูดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง เขียนด้วยอักษรบาหลีและอักษรละติน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใกล้เคียงกับภาษาซาซักและภาษากัมเบอราในเกาะซุมบาวา มีการแบ่งระดับชั้นภายในภาษ.

ภาษาบันยูมาซันและภาษาบาหลี · ภาษาบาหลีและรายชื่อภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาญี่ปุ่น

ษาญี่ปุ่น (日本語) เป็นภาษาทางการของประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมีผู้ใช้ทั่วโลกราว 130 ล้านคน นอกเหนือจากประเทศญี่ปุ่นแล้ว รัฐอังกาอูร์ สาธารณรัฐปาเลา ได้กำหนดให้ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาทางการภาษาหนึ่ง นอกจากนี้ภาษาญี่ปุ่นยังถูกใช้ในหมู่ชาวญี่ปุ่นที่ย้ายไปอยู่นอกประเทศ นักวิจัยญี่ปุ่น และนักธุรกิจต่างๆ คำภาษาญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลมาจากภาษาต่างประเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะภาษาจีน ที่ได้นำมาเผยแพร่มาในประเทศญี่ปุ่นเมื่อกว่า 1,500 ปีที่แล้ว และตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ก็ได้มีการยืมคำจากภาษาต่างประเทศที่ไม่ใช่ภาษาจีนมาใช้อีกเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เช่นคำที่มาจากภาษาดัตช์ ビール (bier แปลว่า เบียร์) และ コーヒー (koffie แปลว่า กาแฟ).

ภาษาญี่ปุ่นและภาษาบันยูมาซัน · ภาษาญี่ปุ่นและรายชื่อภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามลายู

ษามลายู (Bahasa Melayu) เป็นภาษาหลักภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีสถานะเป็นภาษาราชการในบรูไน, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย มีผู้พูดประมาณ 200–250 ล้านคน (ณ ปี พ.ศ. 2552) โดยเป็นภาษาแม่ของผู้คนตลอดสองฟากช่องแคบมะละกา ซึ่งได้แก่ ชายฝั่งคาบสมุทรมลายูของมาเลเซียและชายฝั่งตะวันออกของเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย และได้รับการยอมรับเป็นภาษาแม่ในชายฝั่งตะวันตกของซาราวะก์และกาลีมันตันตะวันตกในเกาะบอร์เนียว นอกจากนี้ยังใช้เป็นภาษาการค้าในภาคใต้ของฟิลิปปินส์ ซึ่งได้แก่ ตอนใต้ของคาบสมุทรซัมบวงกา, กลุ่มเกาะซูลู และเมืองบาตาราซาและบาลาบัก (ซึ่งมีชาวมุสลิมอาศัยอยู่เป็นส่วนใหญ่) ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะปาลาวัน ในฐานะที่เป็นภาษาประจำชาติ (Bahasa Kebangsaan หรือ Bahasa Nasional) ของรัฐเอกราชหลายรัฐ ภาษามลายูมาตรฐานมีชื่อทางการแตกต่างกันไป ในบรูไนและสิงคโปร์เรียกว่า "ภาษามลายู" (Bahasa Melayu) ในมาเลเซียเรียกว่า "ภาษามาเลเซีย" (Bahasa Malaysia) และในอินโดนีเซียเรียกว่า "ภาษาอินโดนีเซีย" (Bahasa Indonesia) อย่างไรก็ตาม ในหลายพื้นที่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะสุมาตราที่ซึ่งภาษามลายูเป็นภาษาพื้นเมือง ชาวอินโดนีเซียจะเรียกภาษานี้ว่า "ภาษามลายู" และมองว่าเป็นภาษาหนึ่งในบรรดาภาษาประจำภูมิภาคของตน ภาษามลายูมาตรฐาน (หรือที่เรียกว่าภาษามลายูราชสำนัก) เคยเป็นวิธภาษามาตรฐานในวรรณกรรมของรัฐสุลต่านมะละกาและยะโฮร์สมัยก่อนอาณานิคม ดังนั้น บางครั้งจึงเรียกว่าภาษานี้ว่าภาษามลายูมะละกา, ภาษามลายูยะโฮร์ หรือภาษามลายูเรียว (หรือชื่ออื่น ๆ ที่ใช้ชื่อเหล่านี้ประกอบกัน) เพื่อแยกให้แตกต่างกับภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาในกลุ่มภาษามลายู จากข้อมูลของเอ็ทนอล็อก (Ethnologue) วิธภาษามลายูต่าง ๆ ซึ่งในปัจจุบันมีรายชื่อเป็นภาษาแยกต่างหาก (รวมถึงวิธภาษาโอรังอัซลีในมาเลเซียตะวันตก) มีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกับภาษามลายูมาตรฐานมากจนอาจพิสูจน์ได้ว่าเป็นภาษาถิ่นของภาษาเดียวกัน นอกจากนี้ ยังมีภาษามลายูการค้าและภาษาครีโอล (creole) จากภาษามลายูอีกจำนวนมากซึ่งมีพื้นฐานจากภาษากลางที่พัฒนามาจากภาษามลายูตามแบบแผนดั้งเดิม เช่นเดียวกับภาษามลายูมากัสซาร์ซึ่งปรากฏว่าเป็นภาษาผสม.

ภาษาบันยูมาซันและภาษามลายู · ภาษามลายูและรายชื่อภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาดูรา

ษามาดูราเขียนด้วยอักษรชวา ภาษามาดูรา (Madura language) เป็นที่ใช้พูดบนเกาะมาดูรา ในประเทศอินโดนีเซีย และเกาะอื่นๆ เช่นเกาะกาเงียน เกาะซาปูดี และทางตะวันออกของชวาตะวันออก พบในสิงคโปร์ด้วย อยู่ในกลุ่มย่อยซุนดา ของภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตก ตระกูลอสสโตรนีเซียน เคยเขียนด้วยอักษรชวา ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรละติน มีผู้พูด 13,600,000 คนในอินโดนีเซีย (พ.ศ. 2543) ภาษานี้มีรากศัพท์เหมือนกับภาษากาเงียน 75% และเข้าใจกันได้ยาก ภาษานี้มีหลายสำเนียง สำเนียงซูเมเนบ จัดเป็นสำเนียงมาตรฐาน สำเนียงบังกาลนที่พูดในสุราบายา เป็นสำเนียงที่ใช้ทางการค้ามากที่สุด เป็นสำเนียงที่ใช้ในเมืองและได้รับอิทธิพลจากภาษาอินโดนีเซียมาก และผู้พูดภาษานี้ใช้ภาษาอินโดนีเซียด้วย แปลไบเบิลเป็นภาษานี้ใน..

ภาษาบันยูมาซันและภาษามาดูรา · ภาษามาดูราและรายชื่อภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซุนดา

ษาซุนดาเป็นภาษาที่ใช้พูดในหมู่ชาวซุนดา ประเทศอินโดนีเซียในเขตชวาตะวันตก อยู่ในตระกูลออโตรนีเซียน สาขามลาโย-โพลีนีเซียน สำเนียงปรีงาอันเป็นสำเนียงที่มีการสอนในระดับประถมศึกษา ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรละติน.

ภาษาซุนดาและภาษาบันยูมาซัน · ภาษาซุนดาและรายชื่อภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ภาษาบันยูมาซันและภาษาไทย · ภาษาไทยและรายชื่อภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเกาหลี

ษาเกาหลี (한국어 หรือ 조선말, ดูในส่วนชื่อ) เป็นภาษาที่ส่วนใหญ่พูดใน ประเทศเกาหลีใต้ และ ประเทศเกาหลีเหนือ ซึ่งใช้เป็นภาษาราชการ และมีคนชนเผ่าเกาหลีที่อาศัยอยู่ในประเทศจีนพูดโดยทั่วไป(ในจังหวัดปกครองตนเองชนชาติเกาหลีเหยียนเปียน มณฑลจี๋หลิน ซึ่งมีพรมแดนติดกับเกาหลีเหนือ) ทั่วโลกมีคนพูดภาษาเกาหลี 78 ล้านคน รวมถึงกลุ่มคนในอดีตสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล ญี่ปุ่น และเมื่อเร็ว ๆ นี้ก็มีผู้พูดใน ฟิลิปปินส์ ด้วย การจัดตระกูลของภาษาเกาหลีไม่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป แต่คนส่วนมากมักจะถือเป็นภาษาเอกเทศ นักภาษาศาสตร์บางคนได้จัดกลุ่มให้อยู่ใน ตระกูลภาษาอัลไตอิกด้วย ทั้งนี้เนื่องจากภาษาเกาหลีมีวจีวิภาคแบบภาษาคำติดต่อ ส่วนวากยสัมพันธ์หรือโครงสร้างประโยคนั้น เป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา (SOV) อักษรเกาหลี เรียกว่าอักษรฮันกึล ใช้แทนเสียงของแต่ละพยางค์ นอกจากนี้ใช้ยังตัวอักขระแบบจีนเรียกว่าอักษรฮันจา ในการเขียนด้วย ในขณะที่คำศัพท์ที่ใช้กันส่วนใหญ่เป็นคำภาษาเกาหลีแท้ โดยที่มีคำศัพท์มากกว่า 50% มาจากภาษาจีนทั้งทางตรงและทางอ้อม.

ภาษาบันยูมาซันและภาษาเกาหลี · ภาษาเกาหลีและรายชื่อภาษา · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ภาษาบันยูมาซันและรายชื่อภาษา

ภาษาบันยูมาซัน มี 14 ความสัมพันธ์ขณะที่ รายชื่อภาษา มี 707 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 8, ดัชนี Jaccard คือ 1.11% = 8 / (14 + 707)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ภาษาบันยูมาซันและรายชื่อภาษา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »