โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษาซีพลัสพลัสและสิ่งแวดล้อมสำหรับการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ภาษาซีพลัสพลัสและสิ่งแวดล้อมสำหรับการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จ

ภาษาซีพลัสพลัส vs. สิ่งแวดล้อมสำหรับการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จ

ษาซีพลัสพลัส (C++) เป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ มีโครงสร้างภาษาที่มีการจัดชนิดข้อมูลแบบสแตติก (statically typed) และสนับสนุนรูปแบบการเขียนโปรแกรมที่หลากหลาย (multi-paradigm language) ได้แก่ การโปรแกรมเชิงกระบวนคำสั่ง, การนิยามข้อมูล, การโปรแกรมเชิงวัตถุ, และการโปรแกรมแบบเจเนริก (generic programming) ภาษาซีพลัสพลัสเป็นภาษาโปรแกรมเชิงพาณิชย์ที่นิยมมากภาษาหนึ่งนับตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 1990 เบียเนอ สเดราสดร็อบ (Bjarne Stroustrup) จากเบลล์แล็บส์ (Bell Labs) เป็นผู้พัฒนาภาษาซีพลัสพลัส (เดิมใช้ชื่อ "C with classes") ในปี ค.ศ. 1983 เพื่อพัฒนาภาษาซีดั้งเดิม สิ่งที่พัฒนาขึ้นเพิ่มเติมนั้นเริ่มจากการเพิ่มเติมการสร้างคลาสจากนั้นก็เพิ่มคุณสมบัติต่างๆ ตามมา ได้แก่ เวอร์ชวลฟังก์ชัน การโอเวอร์โหลดโอเปอเรเตอร์ การสืบทอดหลายสาย เทมเพลต และการจัดการเอกเซพชัน มาตรฐานของภาษาซีพลัสพลัสได้รับการรับรองในปี ค.ศ. 1998 เป็นมาตรฐาน ISO/IEC 14882:1998 เวอร์ชันล่าสุดคือเวอร์ชันในปี ค.ศ. 2014 ซึ่งเป็นมาตรฐาน ISO/IEC 14882:2014 (รู้จักกันในชื่อ C++14). งแวดล้อมสำหรับการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จ (integrated development environment หรือ IDE) คือ โปรแกรมประยุกต์ซอฟต์แวร์ซึ่งอำนวยความสะดวกให้แก่นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ ซึ่งปรกติแล้วประกอบด้วย บรรณาธิกรณ์รหัสต้นทาง (source code editor) 1, โปรแกรมแปลโปรแกรม (compiler) หรือ โปรแกรมแปลคำสั่ง (interpreter) หรือทั้งสอง 1, เครื่องมือวางระบบอัตโนมัติ (build automation tools) 1 และ โปรแกรมตรวจแก้จุดบกพร่อง (debugger) 1.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ภาษาซีพลัสพลัสและสิ่งแวดล้อมสำหรับการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จ

ภาษาซีพลัสพลัสและสิ่งแวดล้อมสำหรับการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จ มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): คอมไพเลอร์นักเขียนโปรแกรม

คอมไพเลอร์

คอมไพเลอร์ (compiler) หรือ โปรแกรมแปลโปรแกรม, ตัวแปลโปรแกรม เป็น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าแปลงชุดคำสั่งภาษาคอมพิวเตอร์หนึ่ง ไปเป็นชุดคำสั่งที่มีความหมายเดียวกัน ในภาษาคอมพิวเตอร์อื่น คอมไพเลอร์ส่วนใหญ่ จะทำการแปล รหัสต้นฉบับ (source code) ที่เขียนในภาษาระดับสูง เป็น ภาษาระดับต่ำ หรือภาษาเครื่อง ซึ่งคอมพิวเตอร์สามารถที่จะทำงานได้โดยตรง อย่างไรก็ตาม การแปลจากภาษาระดับต่ำเป็นภาษาระดับสูง ก็เป็นไปได้ โดยใช้ตัวแปลโปรแกรมย้อนกลับ (decompiler) รูปแสดงขั้นตอนการทำงานของตัวแปลโปรแกรม ผลลัพธ์ของการแปลโปรแกรม (คอมไพล์) โดยทั่วไป ที่เรียกว่า ออบเจกต์โค้ด จะประกอบด้วยภาษาเครื่อง (Machine code) ที่เต็มไปด้วยข้อมูลเกี่ยวกับชื่อและสถานที่ของแต่ละจุด และการเรียกใช้วัตถุภายนอก (Link object) (สำหรับฟังก์ชันที่ไม่ได้อยู่ใน อ็อบเจกต์) สำหรับเครื่องมือที่เราใช้รวม อ็อบเจกต์เข้าด้วยกัน จะเรียกว่าโปรแกรมเชื่อมโยงเพื่อที่ผลลัพธ์ที่ออกมาในขั้นสุดท้าย เป็นไฟล์ที่ผู้ใช้งานทั่วไปสามารถใช้งานได้สะดวก คอมไพเลอร์ที่สมบูรณ์ตัวแรก คือ ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) ของ ไอบีเอ็ม ในปี ค.ศ. 1957 และ ภาษาโคบอล (COBOL) ก็เป็นคอมไพเลอร์ตัวแรก ๆ ที่สามารถทำงานได้บนหลาย ๆ สถาปัตยกรรมทางคอมพิวเตอร์ การพัฒนาตัวแปลภาษารุดหน้าอย่างรวดเร็ว และเริ่มมีรูปแบบที่ชัดเจนยิ่งขึ้นต่อมา ในช่วงทศวรรษ 1960.

คอมไพเลอร์และภาษาซีพลัสพลัส · คอมไพเลอร์และสิ่งแวดล้อมสำหรับการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จ · ดูเพิ่มเติม »

นักเขียนโปรแกรม

นักเขียนโปรแกรม หรือ โปรแกรมเมอร์ (programmer) มีหน้าที่หลักคือการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งนักเขียนโปรแกรมสามารถหมายถึงผู้ที่เชี่ยวชาญในการโปรแกรมเฉพาะด้าน หรือผู้ที่สามารถเขียนรหัสซอฟต์แวร์ได้หลากหลายข้อมุล เอดา ไบรอนได้ชื่อว่าเป็นนักเขียนโปรแกรมคนแรกของโลก เพราะเป็นคนแรกที่สามารถนำขั้นตอนวิธี มาเรียบเรียงเป็นชุดคำสั่ง ให้แก่เครื่องคำนวณได้ในปี..

นักเขียนโปรแกรมและภาษาซีพลัสพลัส · นักเขียนโปรแกรมและสิ่งแวดล้อมสำหรับการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ภาษาซีพลัสพลัสและสิ่งแวดล้อมสำหรับการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จ

ภาษาซีพลัสพลัส มี 11 ความสัมพันธ์ขณะที่ สิ่งแวดล้อมสำหรับการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จ มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 8.70% = 2 / (11 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ภาษาซีพลัสพลัสและสิ่งแวดล้อมสำหรับการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »