ภาษาจีนมาตรฐานและหมวดคำอักษรจีน
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ภาษาจีนมาตรฐานและหมวดคำอักษรจีน
ภาษาจีนมาตรฐาน vs. หมวดคำอักษรจีน
ภาษาจีนมาตรฐาน (Standard Chinese) หรือ ผู่ทงฮฺว่า ("ภาษาสามัญ") เป็นภาษามาตรฐานซึ่งเป็นภาษาราชการเพียงหนึ่งเดียวของทั้งประเทศจีนและประเทศไต้หวัน ทั้งยังเป็นหนึ่งในภาษาราชการทั้งสี่ของประเทศสิงคโปร์ ภาษาจีนมาตรฐานออกเสียงตามสำเนียงเป่ย์จิง (北京話) ใช้คำศัพท์ตามสำเนียงกลาง และใช้ไวยากรณ์ตามภาษาจีนที่ใช้เขียนในชีวิตประจำวัน (written vernacular Chinese) ภาษาจีนมาตรฐานมีวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีนแบบอื่น ๆ เมื่อเทียบกับภาษาจีนที่ใช้ในตอนใต้แล้ว ภาษาจีนมาตรฐานมีพยัญชนะต้นมากกว่า แต่มีสระ พยัญชนะท้าย และวรรณยุกต์ น้อยกว่า นอกจากนี้ ภาษาจีนมาตรฐานยังเน้นหัวเรื่อง (topic-prominent) และเรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม ภาษาจีนมาตรฐานนั้นใช้อักษรแบบเต็มหรือแบบย่อเขียนก็ได้ ส่วนการถอดเป็นอักษรโรมันนั้นใช้อักษรพินอินแบบฮั่น หมวดหมู่:ภาษามาตรฐาน หมวดหมู่:ภาษาจีนมาตรฐาน หมวดหมู่:ภาษาไต้หวัน หมวดหมู่:ภาษาจีนในสิงคโปร์. หมวดคำอักษรจีนในพจนานุกรมคังซี (1) หมวดคำอักษรจีนในพจนานุกรมคังซี (2) หมวดคำอักษรจีน หมายถึงดัชนีคำศัพท์ในพจนานุกรมภาษาจีน (หรือภาษาอื่นที่ใช้อักษรจีน) ซึ่งแบ่งตามลักษณะของการประกอบอักษร อักษรจีนแต่ละตัวจะถูกจัดเข้าไว้ในหมวดคำเพียงหมวดเดียว เรียงตามลำดับจำนวนขีดและการเขียน และแต่ละหมวดก็จะมีความหมายไปในทางเดียวกัน การแบ่งอักษรจีนเป็นหมวดคำเริ่มต้นขึ้นในอักษรานุกรมซัวเหวินเจี่ยจื้อ (說文解字) เขียนโดย สวี่ เซิ่น (許慎) นักคัมภีรศาสตร์สมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออก แต่เดิม สวี่ เซิ่น ได้แบ่งหมวดคำอักษรจีนไว้เป็น 540 หมวด ต่อมาพจนานุกรมคังซีในสมัยราชวงศ์ชิง ได้รวบรวมหมวดคำที่คล้ายกันเข้าจนเหลือ 214 หมวด เช่นเดียวกับพจนานุกรมจงหัว และเมื่อมีการประกาศใช้อักษรจีนตัวย่อ พจนานุกรมฮั่นหยู่จึงมีหมวดคำ 200 หมวดเท่านั้น (ส่วนพจนานุกรมซินหัวเรียงลำดับตามพินอิน).
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ภาษาจีนมาตรฐานและหมวดคำอักษรจีน
ภาษาจีนมาตรฐานและหมวดคำอักษรจีน มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): อักษรจีนตัวย่อ
Hànzì ฮั่นจื้อ แปลว่า ภาษาฮั่น หรือ ภาษาจีนกลาง เขียนด้วยอักษรจีนตัวย่อ แผนภาพออยเลอร์แสดงกลุ่มของการเปลี่ยนแปลงอักษรจีนตัวเต็มไปเป็นอักษรจีนตัวย่อ อักษรจีนตัวย่อ (เจี่ยนถี่จื้อ/เจี่ยนฮั่วจื้อ) เป็นหนึ่งในสองรูปแบบอักษรจีนมาตรฐานที่ใช้กันทั่วโลกในปัจจุบัน อักษรจีนตัวย่อประดิษฐ์และเริ่มใช้โดยรัฐบาลของสาธารณรัฐประชาชนจีน (จีนแผ่นดินใหญ่) ใน พ.ศ. 2492 เหตุที่ต้องเรียกว่าอักษรจีนตัวย่อ หรือ Simplified Chinese character ก็เพื่อให้แตกต่างจากอักษรจีนมาตรฐานอีกรูปแบบหนึ่งที่ในปัจจุบัน นั่นคือ อักษรจีนตัวเต็ม หรือ Traditional Chinese Character (อักษรจีนดั้งเดิม) อักษรจีนตัวเต็มได้ใช้ใน ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนก่อนการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย ส่วนอักษรจีนตัวย่อ ใช้กันใน สาธารณรัฐประชาชนจีน สิงคโปร์ และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนหลังการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย อย่างไรก็ตาม ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากยังคงใช้อักษรจีนตัวเต็มเป็นหลัก แต่สำหรับการสอนภาษาจีนตามสถานศึกษาในประเทศไทยส่วนมากจะใช้อักษรจีนตัวย่อ เพื่อให้เป็นแบบแผนเดียวกันกับสาธารณรัฐประชาชนจีน.
ภาษาจีนมาตรฐานและอักษรจีนตัวย่อ · หมวดคำอักษรจีนและอักษรจีนตัวย่อ · ดูเพิ่มเติม »
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ภาษาจีนมาตรฐานและหมวดคำอักษรจีน มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ภาษาจีนมาตรฐานและหมวดคำอักษรจีน
การเปรียบเทียบระหว่าง ภาษาจีนมาตรฐานและหมวดคำอักษรจีน
ภาษาจีนมาตรฐาน มี 11 ความสัมพันธ์ขณะที่ หมวดคำอักษรจีน มี 24 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 2.86% = 1 / (11 + 24)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ภาษาจีนมาตรฐานและหมวดคำอักษรจีน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: