โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษาจาวาและเทมเพลทเมธอดแพตเทิร์น

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ภาษาจาวาและเทมเพลทเมธอดแพตเทิร์น

ภาษาจาวา vs. เทมเพลทเมธอดแพตเทิร์น

ลโก้ของภาษาจาวา ภาษาจาวา (Java programming language) เป็นภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming) พัฒนาโดย เจมส์ กอสลิง และวิศวกรคนอื่นๆ ที่ ซัน ไมโครซิสเต็มส์ ภาษาจาวาถูกพัฒนาขึ้นในปี พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991) โดยเป็นส่วนหนึ่งของ โครงการกรีน (the Green Project) และสำเร็จออกสู่สาธารณะในปี พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) ซึ่งภาษานี้มีจุดประสงค์เพื่อใช้แทนภาษาซีพลัสพลัส (C++) โดยรูปแบบที่เพิ่มเติมขึ้นคล้ายกับภาษาอ็อบเจกต์ทีฟซี (Objective-C) แต่เดิมภาษานี้เรียกว่า ภาษาโอ๊ก (Oak) ซึ่งตั้งชื่อตามต้นโอ๊กใกล้ที่ทำงานของ เจมส์ กอสลิง แต่ว่ามีปัญหาทางลิขสิทธิ์ จึงเปลี่ยนไปใช้ชื่อ "จาวา" ซึ่งเป็นชื่อกาแฟแทน และแม้ว่าจะมีชื่อคล้ายกัน แต่ภาษาจาวาไม่มีความเกี่ยวข้องใด ๆ กับภาษาจาวาสคริปต์ (JavaScript) ปัจจุบันมาตรฐานของภาษาจาวาดูแลโดย Java Community Process ซึ่งเป็นกระบวนการอย่างเป็นทางการ ที่อนุญาตให้ผู้ที่สนใจเข้าร่วมกำหนดความสามารถในจาวาแพลตฟอร์มได้. ทมเพลตเมธอดแพตเทิร์น (Template method pattern) เป็นดีไซน์แพตเทิร์นที่ใช้กำหนดแม่แบบหรือโครงหลักของขั้นตอนวิธี โดยไม่ได้กำหนดรายละเอียดของขั้นตอนต่างๆ ซับคลาสสามารถนิยามรายละเอียดของแต่ละขั้นตอนย่อยได้ตามความต้องการ เทมเพลตเมธอดถูกใช้เป็นส่วนหลักของซอฟต์แวร์เฟรมเวิร์ก ตัวอย่างที่นอกเหนือจากการเขียนโปรแกรมเช่น แบบแปลนบ้านที่เจ้าของบ้านสามารถเลือกสีและตบแต่งได้ภายหลัง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ภาษาจาวาและเทมเพลทเมธอดแพตเทิร์น

ภาษาจาวาและเทมเพลทเมธอดแพตเทิร์น มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ภาษาจาวาและเทมเพลทเมธอดแพตเทิร์น

ภาษาจาวา มี 36 ความสัมพันธ์ขณะที่ เทมเพลทเมธอดแพตเทิร์น มี 7 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (36 + 7)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ภาษาจาวาและเทมเพลทเมธอดแพตเทิร์น หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »