โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษากินาไรอาและเขตคันลูรังคาบีซายาอัน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ภาษากินาไรอาและเขตคันลูรังคาบีซายาอัน

ภาษากินาไรอา vs. เขตคันลูรังคาบีซายาอัน

ษากีนาไรอา อยู่ในตระกูลวิซายัน มีผู้พูดในจังหวัดอันตีเกและอีโลอีโล ประเทศฟิลิปปินส์ จากอิทธิพลของสื่อและพื้นที่ที่ใกล้เคียงกัน ผู้พูดภาษากีนาไรอาจะเข้าใจภาษาฮีลีไกโนนได้ แต่ภาษากีนาไรอาไม่ใช่สำเนียงของภาษาฮีลีไกโนน เป็นเพียงภาษาที่ใกล้เคียงกันเท่านั้น. ตคันลูรังคาบีซายาอัน (ฮีลีไกโนน: Kabisay-an Nakatundan; Kanlurang Kabisayaan) หรือ เขตที่ 6 เป็นเขตหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ ประกอบไปด้วย 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดอักลัน, จังหวัดอันตีเค‎, จังหวัดคาปิซ‎, จังหวัดกีมารัส, จังหวัดอีโลอีโล‎ และจังหวัดคันลูรังเนโกรส และ 2 นครที่มีประชากรอย่างสูง ได้แก่ บาโคโลด และอีโลอีโลซิตี ซึ่งเป็นศูนย์กลางของเขตนี้ ภาษาที่ใช้กันส่วนใหญ่คือภาษาฮีลีไกโนน ภาษาอักลัน ภาษาคาปิซ ภาษากินาไรอา และภาษาเซบัวโน เขตนี้มีพื้นที่ 20,794.18 ตารางกิโลเมตร ประชากร 7,536,383 คน เป็นเขตที่มีประชากรมากที่สุดของหมู่เกาะวิซายั.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ภาษากินาไรอาและเขตคันลูรังคาบีซายาอัน

ภาษากินาไรอาและเขตคันลูรังคาบีซายาอัน มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภาษาฮีลีไกโนนจังหวัดอีโลอีโลประเทศฟิลิปปินส์

ภาษาฮีลีไกโนน

ษาฮีลีไกโนน (ฟิลิปีโนและHiligaynon) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียใช้พูดในวิซายาตะวันตก ประเทศฟิลิปปินส์ ส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดอีโลอีโลและเนโกรส และจังหวัดอื่น ๆ ในเกาะปาไน เช่น คาปิซ, อันตีเก, อักลัน และกีมารัส มีผู้พูด 7 ล้านคน ใช้เป็นภาษาแม่ และใช้เป็นภาษาที่สองอีก 4 ล้านคน.

ภาษากินาไรอาและภาษาฮีลีไกโนน · ภาษาฮีลีไกโนนและเขตคันลูรังคาบีซายาอัน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอีโลอีโล

ังหวัดอีโลอีโล (ฮีลีไกโนน: Kapuoran sang Iloilo; กินาไรอา: Probinsiya kang Iloilo; Lalawigan ng Iloilo) เป็นจังหวัดในเขตคันลูรังคาบีซายาอัน ประเทศฟิลิปปินส์ ครอบคลุมพื้นที่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะปาไนย์ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอันตีเคทางทิศตะวันตก ติดกับจังหวัดคาปิซทางทิศเหนือ ติดกับช่องแคบจีนโตโตโลทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดกับช่องแคบกีมารัสทางทิศตะวันออก และติดกับช่องแคบอีโลอีโลและอ่าวปาไนย์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ไม่ไกลจากชายฝั่งของจังหวัดอีโลอีโล เป็นที่ตั้งของเกาะจังหวัดกีมารัส ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดอีโลอีโล เมืองหลักของจังหวัดอีโลอีโลมีชื่อเดียวกันกับชื่อจังหวัด คือ อีโลอีโลซิตี ซึ่งยังเป็นนครอิสระ ไม่ขึ้นกับรัฐบาลประจำจังหวัด สำหรับในปี..

จังหวัดอีโลอีโลและภาษากินาไรอา · จังหวัดอีโลอีโลและเขตคันลูรังคาบีซายาอัน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ประเทศฟิลิปปินส์และภาษากินาไรอา · ประเทศฟิลิปปินส์และเขตคันลูรังคาบีซายาอัน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ภาษากินาไรอาและเขตคันลูรังคาบีซายาอัน

ภาษากินาไรอา มี 7 ความสัมพันธ์ขณะที่ เขตคันลูรังคาบีซายาอัน มี 22 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 10.34% = 3 / (7 + 22)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ภาษากินาไรอาและเขตคันลูรังคาบีซายาอัน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »