โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาวะเสียสำนึกความพิการและอัมพฤกษ์ครึ่งซีก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ภาวะเสียสำนึกความพิการและอัมพฤกษ์ครึ่งซีก

ภาวะเสียสำนึกความพิการ vs. อัมพฤกษ์ครึ่งซีก

วะเสียสำนึกความพิการ (Anosognosia) เป็นภาวะที่ผู้ป่วยมีความพิการหรือบกพร่องแต่ไม่รับรู้หรือปฏิเสธความบกพร่องของตนเอง ภาวะนี้พบได้แม้กระทั่งในผู้พิการสายตาหรืออัมพาต ผู้ที่ตั้งชื่อโรคนี้เป็นคนแรกคือนักประสาทวิทยาชื่อ โจเซฟ บาบินสกี (Joseph Babinski) ในปี.. อัมพฤษกษ์ครึ่งซีก (hemiparesis) คือภาวะที่มีการอ่อนแรงของร่างกายซีกใดซีกหนึ่ง เป็นภาวะที่คล้ายคลึงกับอัมพาตครึ่งซีก (hemiplegia) แต่ไม่รุนแรงเท่า ผู้ป่วยอัมพฤกษ์ครึ่งซีกจะพอขยับแขนขาข้างที่อ่อนแรงได้บ้าง เพียงแต่จะไม่มีกำลังมากเท่าปกติ โรคที่เป็นสาเหตุของอัมพฤกษ์ครึ่งซึกมีอยู่หลายอย่าง ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับสมองและไขสันหลัง โรคหรือภาวะซึ่งมีอาการอัมพฤกษ์ครึ่งซึกเป็นอาการหลักหรือเกี่ยวข้องเช่น ไมเกรน การบาดเจ็บที่ศีรษะ กล้ามเนื้อฝ่อ โรคหลอดเลือดสมอง เนื้องอกสมอง และอัมพาตสมองใหญ่ เป็นต้น at.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ภาวะเสียสำนึกความพิการและอัมพฤกษ์ครึ่งซีก

ภาวะเสียสำนึกความพิการและอัมพฤกษ์ครึ่งซีก มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ภาวะเสียสำนึกความพิการและอัมพฤกษ์ครึ่งซีก

ภาวะเสียสำนึกความพิการ มี 4 ความสัมพันธ์ขณะที่ อัมพฤกษ์ครึ่งซีก มี 3 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (4 + 3)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ภาวะเสียสำนึกความพิการและอัมพฤกษ์ครึ่งซีก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »