ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ภาวะเงินเฟ้อและเศรษฐศาสตร์มหภาค
ภาวะเงินเฟ้อและเศรษฐศาสตร์มหภาค มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภาวะเงินฝืดดัชนีราคาผู้บริโภค
ภาวะเงินฝืด
วะเงินฝืด (deflation) เป็นภาวะที่ระดับราคาสินค้าและบริการทั่วไปลดต่ำลงเรื่อยๆ อันเนื่องมาจากอุปสงค์รวมมีน้อยเกินไป ไม่เพียงพอที่จะซื้อสินค้าและบริการทำให้ผู้ผลิตต้องลดราคาสินค้าเพื่อที่จะทำให้ขายได้ และลดการผลิตลงเพราะว่าถ้าผลิตออกมาเท่าเดิมก็ขายได้น้อย ผลที่ตามมาจะก่อให้เกิดผลเลวร้ายต่อเศรษฐกิจเพราะการจ้างงานจะลดลงตามไปด้วย ส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ต่อมาตรฐานความเป็นอยู่ของประชาชน ดังนั้นเมื่อเกิดภาวะเงินฝืด อำนาจซื้อของบุคคลทั่วไปจะสูงขึ้นด้วย เงินฝืด เป็นภาวะตรงข้ามกับภาวะเงินเฟ้อ มีปัจจัยการเกิดจากสาเหตุหลายประการ เช่น การเพิ่มขึ้นของอุปทาน การหดตัวของอุปสงค์ การลดลงของต้นทุนจากปัจจัยอัตราแลกเปลี่ยน หรือมาตรการปรับเพิ่มภาษี และการที่ปริมาณเงินหมุนเวียนมีไม่เพียงพอต่อขนาดของระบบเศรษฐกิจ เป็นต้น.
ภาวะเงินฝืดและภาวะเงินเฟ้อ · ภาวะเงินฝืดและเศรษฐศาสตร์มหภาค ·
ดัชนีราคาผู้บริโภค
ัชนีราคาผู้บริโภค (Consumer Price Index: CPI) หมายถึง ตัวเลขทางสถิติที่ใช้วัดการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าและบริการที่ครอบครัวหรือผู้บริโภคซื้อหามาบริโภคเป็นประจำ ในปัจจุบันเปรียบเทียบกับราคาในปีที่กำหนดไว้เป็นปีฐาน.
ดัชนีราคาผู้บริโภคและภาวะเงินเฟ้อ · ดัชนีราคาผู้บริโภคและเศรษฐศาสตร์มหภาค ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ภาวะเงินเฟ้อและเศรษฐศาสตร์มหภาค มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ภาวะเงินเฟ้อและเศรษฐศาสตร์มหภาค
การเปรียบเทียบระหว่าง ภาวะเงินเฟ้อและเศรษฐศาสตร์มหภาค
ภาวะเงินเฟ้อ มี 18 ความสัมพันธ์ขณะที่ เศรษฐศาสตร์มหภาค มี 5 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 8.70% = 2 / (18 + 5)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ภาวะเงินเฟ้อและเศรษฐศาสตร์มหภาค หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: