ภาวะหัวใจวายและโรคชากาส
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ภาวะหัวใจวายและโรคชากาส
ภาวะหัวใจวาย vs. โรคชากาส
วะหัวใจวาย หรือภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart Failure (HF)) มักใช้หมายถึงภาวะหัวใจวายเรื้อรัง (chronic heart failure (CHF)) เกิดเมื่อหัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดเพียงพอเพื่อคงการไหลของเลือดเพื่อสนองความต้องการของร่างกาย คำว่า โรคหัวใจเลือดคั่ง (Congestive heart failure (CHF) หรือ congestive cardiac failure (CCF)) มักใช้แทนคำว่า หัวใจวายเรื้อรัง ได้ อาการและอาการแสดงโดยทั่วไปมีหายใจกระชั้น เหนี่อยเกิน และขาบวม การหายใจกระชั้นมักเลวลงเมื่อออกกำลังกาย เมื่อนอนราบและเมื่อกลางคืนขณะหลับ มักมีข้อจำกัดปริมาณการออกกำลังกายที่ผู้ป่วยทำได้ แม้รักษาอย่างดีแล้ว สาเหตุทั่วไปของภาวะหัวใจวาย ได้แก่ โรคหลอดเลือดหัวใจซึ่งรวมกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด (อาการหัวใจล้ม) ก่อนหน้านี้, ความดันโลหิตสูง, หัวใจห้องบนเต้นแผ่วระรัว (atrial fibrillation), โรคลิ้นหัวใจ (valvular heart disease), และโรคกล้ามเนื้อหัวใจ (cardiomyopathy) สาเหตุเหล่านี้ทำให้เกิดอาการหัวใจล้มโดยเปลี่ยนโครงสร้างหรือการทำหน้าที่ของหัวใจ มีอาการหัวใจล้มสองประเภทหลัก คือ อาการหัวใจล้มจากการทำหน้าที่ผิดปรกติของหัวใจห้องล่างซ้ายและอาการหัวใจล้มโดยมีเศษส่วนการสูบฉีดปกติแล้วแต่ว่าหัวใจห้องล่างซ้ายมีความสามารถหดตัวหรือไม่ หรือความสามารถคลายตัวของหัวใจ ปกติจัดลำดับความรุนแรงของโรคจากความสามารถการออกกำลังกายที่ลดลง ภาวะหัวใจวายมิใช่อย่างเดียวกับกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือดหรือหัวใจหยุด (ซึ่งเลือดหยุดไหลทั้งหมด) ฦโรคอื่นซึ่งอาจมีอาการคล้ายกับภาวะหัวใจวาย เช่น โรคอ้วน ปัญหาไต ปัญหาตับ โลหิตจาง และโรคไทรอยด์ เป็นต้น การวินิจฉัยภาวะนี้อาศัยประวัติของอาการและการตรวจร่างกาย ยืนยันด้วยการบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (echocardiography) การตรวจเลือด การบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจและการฉายรังสีทรวงอกอาจมีประโยชน์เพื่อตัดสินสาเหตุเบื้องหลัง การรักษาขึ้นอยู่กับความรุนแรงและสาเหตุของโร. รคชากาส หรือ อเมริกันทริพาโนโซมคือ เขตร้อน ซึ่งเป็น โรคที่เกิดจากปรสิต จาก สัตว์เซล์เดียว ซึ่งเป็นพาหะของเชื้อTrypanosoma cruzi ส่วนมากเชื้อนี้จะถูกแพร่โดยแมลงที่ชื่อ มวลเพชรฆาต อาการของโรคจะเปลี่ยนแปลงไปตามระยะของการติดเชื้อ ส่วนใหญ่ในระยะเริ่มแรก มักจะไม่แสดงอาการหรือมีอาการเพียงเล็กน้อย ที่ได้แก่: มีไข้ ต่อมน้ำเหลืองบวม ปวดศีรษะ หรือการบวมในบริเวณที่ถูกกัด หลังจาก 8–12 สัปดาห์ ผู้ป่วยจะเข้าสู่ระยะเรื้อรังและในผู้ป่วย 60–70% จะไม่มีอาการอื่นใดอีก ส่วนผู้ป่วยอีก 30 ถึง 40% จะมีอาการอื่นๆ เป็นเวลา 10 ถึง 30 ปีหลังจากที่ได้รับเชื้อครั้งแรก อาการเหล่านี้ได้แก่ ห้องล่างของหัวใจ โต และประมาณ 20 ถึง 30% อาจนำไปสู่ ภาวะหัวใจวาย ในผู้ป่วยราว 10% อาจเกิดภาวะ หลอดอาหารขยายใหญ่ขึ้น หรือ ลำไส้ใหญ่ขยายใหญ่ขึ้น อีกด้ว.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ภาวะหัวใจวายและโรคชากาส
ภาวะหัวใจวายและโรคชากาส มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ภาวะหัวใจวายและโรคชากาส มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ภาวะหัวใจวายและโรคชากาส
การเปรียบเทียบระหว่าง ภาวะหัวใจวายและโรคชากาส
ภาวะหัวใจวาย มี 14 ความสัมพันธ์ขณะที่ โรคชากาส มี 8 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (14 + 8)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ภาวะหัวใจวายและโรคชากาส หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: