โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาพยนตร์ไทยและเอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ภาพยนตร์ไทยและเอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์

ภาพยนตร์ไทย vs. เอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์

นตร์ไทย มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกถ่ายทำในเมืองไทย คือ เรื่อง นางสาวสุวรรณ ผู้สร้าง คือ บริษัทภาพยนตร์ ยูนิเวอร์ซัล ภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้ผู้แสดงทั้งหมดเป็นคนไทย"" เว็บไซต์ rimpingfunds.com พ.ศ. 2470 ภาพยนตร์เรื่อง โชคสองชั้น เป็นภาพยนตร์ขนาด 35 มิลลิเมตร ขาว-ดำ ไม่มีเสียง ได้รับการยอมรับให้เป็นภาพยนตร์ประเภทเรื่องแสดงเพื่อการค้าเรื่องแรกที่สร้างโดยคนไทย ในช่วงหลัง พ.ศ. 2490 ถือเป็นช่วงยุคเฟื่องฟูของภาพยนตร์ไทย สตูดิโอถ่ายทำและภาพยนตร์มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น หลังจากนั้นประเทศไทยเข้าสู่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ถือเป็นช่วงซบเซาของภาพยนตร์ไทย เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง กิจการภาพยนตร์ในประเทศไทยค่อย ๆ ฟื้นคืนกลับมา ได้เปลี่ยนไปสร้างเป็นภาพยนตร์ขนาด 16 มิลลิเมตรแทน และเมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะคับขัน ภาพยนตร์ไทยหลายเรื่องได้แสดงบทบาทของตนในฐานะกระจกสะท้อนปัญหาการเมือง และสังคม ในช่วงเวลาระหว่างปี.. เอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์ มีชื่อเล่นว่า ไทด์ เกิดเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2505 เป็นน้องชายฝาแฝดของบิณฑ์ บรรลือฤทธิ์ เข้าสู่วงการบันเทิงมาพร้อมกับบิณฑ์พี่ชาย มีชื่อเสียงโด่งดังมาจากการรับบท พี่มาก จากละครโทรทัศน์เรื่อง แม่นาคพระโขนง ทางช่อง 3 ในปี พ.ศ. 2532 ประกบคู่กับ ตรีรัก รักการดี และ "สมเด็จพระนเรศวรมหาราช" ทางช่องเดียวกัน โดยรับบทเป็นตัวละครตามชื่อเรื่อง เอกพันธ์และบิณฑ์ เป็นแฝดร่วมไข่จึงมีรูปร่าง หน้าตาที่คล้ายกันมาก แต่เอกพันธ์มีจุดสังเกตที่ต่างจากบิณฑ์พี่ชาย คือ คางบุ๋ม และผมบริเวณหน้าผากที่เถิกสูงกว่า ไทด์ เอกพันธ์จบปริญญาโท คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ผลงานทางด้านภาพยนตร์ ได้แก่ อ้ายจันบ้านมหาโลก จากสุริโยไท ในปี พ.ศ. 2544 ผลงานระยะหลัง ๆ ได้แก่ ผู้พันเขียว จากละครเรื่อง นรกตัวสุดท้าย ทางช่อง 3 ในปี พ.ศ. 2548 เฮียใหญ่ จากละครเรื่อง ระบำดวงดาว ทางช่อง 3 ในปี พ.ศ. 2553 ปัจจุบันทำหน้าที่เป็นพิธีกร รายการ2505alive หมวดหมู่:นักแสดงไทย หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดสระแก้ว‎ หมวดหมู่:บุคคลจากมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี หมวดหมู่:พิธีกรไทย หมวดหมู่:นักแสดงฝาแฝดเหมือน หมวดหมู่:บุคคลฝาแฝดจากประเทศไทย หมวดหมู่:นักแสดงชายชาวไทยในศตวรรษที่ 20 หมวดหมู่:นักแสดงชายชาวไทยในศตวรรษที่ 21.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ภาพยนตร์ไทยและเอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์

ภาพยนตร์ไทยและเอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์ มี 13 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บ้านผีปอบพ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553ภาพยนตร์มนต์รักลูกทุ่งละครโทรทัศน์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชสุริโยไททองพูน โคกโพ ราษฎรเต็มขั้นแม่นากพระโขนงเสน่ห์บางกอก

บ้านผีปอบ

นตร์เรื่องบ้านผีปอบ ภาคแรก บ้านผีปอบ เป็นภาพยนตร์ไทย ประเภทหนังผีประเภทผสมความตลกขบขัน ที่มีการสร้างถึง 14 ภาคตั้งแต่ปี 2532 – 2554 เป็นหนังที่นำเอาตัวละครผีปอบมาจากนิยายเรื่องของ เหม เวชกร ความประสบความสำเร็จในภาคแรก ๆ ทำให้มีการสร้างภาคต่อ ๆ มา และกลายเป็นภาพยนตร์สยองขวัญผสมเบาสมอง โดยเน้นความตลกเบาสมองเสียมากกว่า แต่ก็ทำให้ ปอบหยิบ โด่งดังและเป็นที่รู้จัก อย่างดี ในภาพยนตร์จะมีวิธีการหนีผีแปลกๆ แบบหนีลงตุ่ม วิ่งหนีขึ้นต้นไม้ เหาะข้ามคลอง หรือแม้กระทั่ง แกล้งผีปอบต่างๆนาๆ เช่น ทาสีทำเป็นประตูลวง เป็นต้น หรือตัวผีปอบเองก็มีวิธีวิ่งไล่จับคนแปลกๆเช่น เช่น ขี่บั้งไฟ ขี่มอเตอร์ไซค์ ใช้พัดสันกำแพงเป็นต้น โดยมีณัฐนี สิทธิสมาน ที่ได้ฉายานามว่า เจ้าแม่ผีปอบ ได้กลายเป็นสัญลักษณ์ ซีรี่ยส์ภาพยนตร์เรื่อง บ้านผีปอบ ในภาคแรกผู้รับบทผีปอบคือ สุชาดา อีแอม และ ตัวละคร ปอบหยิบ เริ่มมีตั้งแต่ภาคที่ 2 รับบทด้วย ณัฐนี สิทธิสมาน บ้านผีปอบภาคที่ 5 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น พันธุ์ผีปอบ 34 เนื่องจากมีปัญหาบางประการ เนื่องจากภาคนี้ ณัฐนี สิทธิสมาน ไม่ได้เล่น และบ้านผีปอบข้ามภาค 12 ไป เนื่องจากถือเคล็ดว่าไม่เป็นหนังโหล กลายเป็นภาคที่ 13 ภาพยนตร์เรื่อง บ้านผีปอบ 2 (ปี 2533) ได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนมรดกภาพยนตร์ของชาติ ประจำปี 2558.

บ้านผีปอบและภาพยนตร์ไทย · บ้านผีปอบและเอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

พ.ศ. 2547และภาพยนตร์ไทย · พ.ศ. 2547และเอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2548และภาพยนตร์ไทย · พ.ศ. 2548และเอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

พ.ศ. 2552และภาพยนตร์ไทย · พ.ศ. 2552และเอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

พ.ศ. 2553และภาพยนตร์ไทย · พ.ศ. 2553และเอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์

กล้องถ่ายภาพเคลื่อนไหวของฟ็อกซ์ในยุคแรก ๆ ภาพยนตร์ หรือ หนัง คือ กระบวนการบันทึกภาพด้วยฟิล์ม แล้วนำออกฉายให้เห็นภาพเคลื่อนไหว ภาพที่ปรากฏบนฟิล์มภาพยนตร์หลังจากผ่านกระบวนการถ่ายทำแล้วเป็นเพียงภาพนิ่งจำนวนมาก ที่มีอิริยาบถหรือแสดงอาการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อยต่อเนื่องกันเป็นช่วงๆ ตามเรื่องราวที่ได้รับการถ่ายทำและตัดต่อมา ซึ่งอาจเป็นเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง หรือเป็นการแสดงให้เหมือนจริง หรืออาจเป็นการแสดงและสร้างภาพจากจินตนาการของผู้สร้างก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นชนิดฟิล์มเนกาทีฟ (negative) หรือฟิล์มโพซิทีฟ (positive) ซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือกระทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏรูปหรือเสียงหรือทั้งรูปและเสียง เป็นเรื่องหรือเหตุการณ์ หรือข้อความอันจักถ่ายทอดรูปหรือเสียง หรือทั้งรูปและเสียงได้ด้วยเครื่องฉายภาพยนตร์หรือเครื่องอย่างอื่นทำนองเดียวกัน และหมายความตลอดถึงฟิล์มซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏสี เพื่ออัดลงในฟิลม์ชนิดดังกล่าว เป็นสาขาที่สร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะในรูปของภาพเคลื่อนไหว และเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมบันเทิง.

ภาพยนตร์และภาพยนตร์ไทย · ภาพยนตร์และเอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

มนต์รักลูกทุ่ง

มนต์รักลูกทุ่ง เป็นภาพยนตร์ไทยที่สร้างมาจากบทประพันธ์เรื่อง "มนต์รักลูกทุ่ง" ของ รังสี ทัศนพยัคฆ์ โดยใช้นามแฝงว่า "มหศักดิ์ สารากร" โดยมิตร ชัยบัญชา มีส่วนร่วมในเนื้อเรื่องด้วย คู่พระ-นาง คือไอ้คล้าว กับ ทองกวาว รับบทโดย มิตร ชัยบัญชา กับเพชรา เชาวราษฎร์ ส่วนคู่รอง คือแว่น กับบุปผา รับบทโดย ศรีไพร ใจพระ กับบุปผา สายชล ภาพยนตร์เรื่องนี้ออกฉายเมื่อวันศุกร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 ทำรายได้ถล่มทลายจากทั่วประเทศถึง 13 ล้านบาทและฉายติดต่อกันนาน 6 เดือน ที่โรงภาพยนตร์โคลีเซียม จนถึงวันที่ 2 ตุลาคม..

ภาพยนตร์ไทยและมนต์รักลูกทุ่ง · มนต์รักลูกทุ่งและเอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ละครโทรทัศน์

ละครโทรทัศน์ คือรายการทางโทรทัศน์ที่มีบทละครและเรื่องราว ไม่รวมถึงรายการจำพวก กีฬา ข่าว เรียลลิตี้โชว์ เกมโชว์ สแตนอัพคอเมดี้ และวาไรตี้โชว์ โดยละครโทรทัศน์โดยมากจะมีหลายตอน เน้นความบันเทิงเป็นหลัก เพื่อการรับชมภายในเคหสถาน นักแสดงที่แสดงในละครโทรทัศน์จะใช้หลายมุมกล้อง บางครั้งนักแสดงจะไม่ทราบว่าเมื่อไรกล้องจะจับภาพ ทางด้านบทละครโทรทัศน์ ต้องมีความละเอียดทุกขั้นตอนกว่าละครเวที เพราะบทโทรทัศน์เป็นตัวกำหนดมุมกล้อง กำหนดฉาก การแต่งกายของผู้แสดง ดนตรี เสียงประกอบ และบางเรื่องยังมีคอมพิวเตอร์กราฟิกเข้ามาเพื่อความสมจริงอีกด้ว.

ภาพยนตร์ไทยและละครโทรทัศน์ · ละครโทรทัศน์และเอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

มเด็จพระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่าพระนเรศ หรือ "พระองค์ดำ" เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิกษัตรีย์ (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรีสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ..

ภาพยนตร์ไทยและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุริโยไท

ริโยไท เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ เน้นถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตของตัวละครเอก คือ พระสุริโยไท พระมเหสีของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอ.

ภาพยนตร์ไทยและสุริโยไท · สุริโยไทและเอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทองพูน โคกโพ ราษฎรเต็มขั้น

ทองพูนโคกโพ ราษฎรเต็มขั้น เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อปี..

ทองพูน โคกโพ ราษฎรเต็มขั้นและภาพยนตร์ไทย · ทองพูน โคกโพ ราษฎรเต็มขั้นและเอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

แม่นากพระโขนง

ลแม่นากพระโขนง ในวัดมหาบุศย์ ซอยสุขุมวิท 77 (ถนนอ่อนนุช) ซึ่งปัจจุบันตั้งอยู่ในเขตสวนหลวงมิใช่เขตพระโขนง แม่นากโขนง หรือมักเรียกสั้น ๆ ว่า แม่นาก (โดยมากสะกดด้วย ค.ควาย) เป็นผีตายทั้งกลมที่เป็นที่รู้จักกันดีของไทย เชื่อกันว่าเรื่องนี้เกิดขึ้นจริงในสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ปัจจุบันมีศาลแม่นากตั้งอยู่ที่วัดมหาบุศย์ ซอยสุขุมวิท 77 (ถนนอ่อนนุช) เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร.

ภาพยนตร์ไทยและแม่นากพระโขนง · เอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์และแม่นากพระโขนง · ดูเพิ่มเติม »

เสน่ห์บางกอก

น่ห์บางกอก (2524) เสน่ห์บางกอก เป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2509 ในระบบ 16 มม.

ภาพยนตร์ไทยและเสน่ห์บางกอก · เสน่ห์บางกอกและเอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ภาพยนตร์ไทยและเอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์

ภาพยนตร์ไทย มี 316 ความสัมพันธ์ขณะที่ เอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์ มี 94 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 13, ดัชนี Jaccard คือ 3.17% = 13 / (316 + 94)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ภาพยนตร์ไทยและเอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »