โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาพจับหน้าจอและวันเมษาหน้าโง่

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ภาพจับหน้าจอและวันเมษาหน้าโง่

ภาพจับหน้าจอ vs. วันเมษาหน้าโง่

หน้าจอของเว็บไซต์วิกิพีเดียแสดงผลในโปรแกรมมอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์ ภาพจับหน้าจอ เป็นภาพที่เกิดจากการบันทึกภาพที่กำลังแสดงผลในจอคอมพิวเตอร์ โดยผ่านทางคำสั่งของระบบปฏิบัติการหรือคำสั่งของโปรแกรมเฉพาะต่าง ๆ ภาพที่ออกมาจะถูกจัดเก็บไว้ในลักษณะภาพดิจิทัล ซึ่งในบางครั้ง สามารถหมายถึงภาพที่ถ่ายจากกล้องถ่ายภาพ ซึ่งจับภาพหน้าจอไว้ในฟิล์ม ในภาษาอังกฤษใช้คำสามคำในการกล่าวถึงภาพหน้าจอคือ สกรีนช็อต (screenshot) สกรีนดัมป์ (screen dump) สกรีนแกร็บ (screen grab) และสกรีนแคปเชอร์ (screen capture) ซึ่งมีความหมายใกล้เคียงกัน. วันเอพริลฟูล (April Fool's Day) หรือ "วันโกหกโลก" เฉลิมฉลองในหลายประเทศในวันที่ 1 เมษายนของทุกปี โดยผู้คนจะเล่นมุกตลกและเรื่องหลอกลวงต่อกัน มุกตลกและคนที่ถูกหลอกจะเรียกว่าเป็น "คนโง่เดือนเมษา" ตามสำนักพิมพ์หรือสื่อต่าง ๆ อาจรายงานเรื่องหลอกลวงในวันนี้ และออกมาเฉลยในวันต่อมา วันนี้ไม่ใช่วันหยุดราชการ เริ่มเป็นที่นิยมตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเฉพาะในแคนาดา ยุโรป ออสเตรเลีย บราซิล และสหรัฐอเมริกา การเชื่อมโยงระหว่างวันที่ 1 เมษายนกับความเขลาที่เก่าแก่ที่สุดที่มีบันทึกสามารถพบได้ใน ตำนานแคนเตอร์บรี ของชอเซอร์ (ค.ศ. 1392) นักเขียนจำนวนมากเสนอว่า การฟื้นฟูวันที่ 1 มกราคมให้เป็นวันขึ้นปีใหม่ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีผลต่อการสร้างสรรค์วันดังกล่าว แต่ทฤษฎีนี้มิได้อธิบายการอ้างถึงก่อนหน้านั้น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ภาพจับหน้าจอและวันเมษาหน้าโง่

ภาพจับหน้าจอและวันเมษาหน้าโง่ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ภาพจับหน้าจอและวันเมษาหน้าโง่

ภาพจับหน้าจอ มี 10 ความสัมพันธ์ขณะที่ วันเมษาหน้าโง่ มี 5 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (10 + 5)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ภาพจับหน้าจอและวันเมษาหน้าโง่ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »