เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ภาณุเดช วัฒนสุชาติและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ภาณุเดช วัฒนสุชาติและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

ภาณุเดช วัฒนสุชาติ vs. สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

ณุเดช วัฒนสุชาติ (25 กันยายน พ.ศ. 2509) มีชื่อเล่นว่า "ดุ๊ก" เป็นนักแสดง พิธีกรชาวไทย จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา, มัธยมปลายจากโรงเรียนสาธิต "พิบูลบำเพ็ญ" มหาวิทยาลัยบูรพา และจบการศึกษาปริญญาตรีจากคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ รุ่น 24 / ปีที่สำเร็จการศึกษา 2533 เข้าสู่วงการบันเทิงด้วยการถ่ายแบบและเล่นโฆษณา โดยผลงานโฆษณาที่มีชื่อเสียง คือ บัตรเครดิตของไดเนอร์คลับ ในปี พ.ศ. 2533 ร่วมกับ น.อ.(พิเศษ)เพิ่ม หงสกุล (บิดาของ อาภัสรา หงสกุล และ ปวีณา หงสกุล) โดยเล่นเป็นชายหนุ่มที่เดินเข้ามาในร้านขายของ และ น.อ.(พิเศษ) เพิ่ม แสดงเป็นเจ้าของร้าน โดยมีคำพูดที่เป็นประโยคเด็ดที่จดจำได้มาปัจจุบันคือ "ทั้งร้านเท่าไหร่ ?" จากนั้น ภาณุเดช จึงได้เล่นละครโทรทัศน์ทางช่อง 7 เรื่อง ข้าวนอกนา และรับบทนำในเรื่อง สุสานคนเป็น โดยรับบท ชีพ ประกบคู่กับอภิรดี ภวภูตานนท์ ในปี พ.ศ. 2534เป็นเรื่องที่สร้างชื่อแจ้งเกิดทางจอแก้ว และรับบทร้ายในภาพยนตร์เรื่อง รองต๊ะแล่บแปล๊บ ในปี พ.ศ. 2535 ประกบคู่กับ ทัช ณ ตะกั่วทุ่ง และ วาสนา พูลผล จากนั้นเป็นต้นมา บทบาทที่ภาณุเดชมักจะได้รับ คือ บทร้ายและตัวประกอบจนเป็นที่รู้จักดี นอกจากนั้นยังเป็นพิธีกรในรายการโทรทัศน์ต่าง ๆ เช่น น้ำใจ ทางไอทีวี คู่กับ ม.ล.สราลี จิราธิวัฒน์ ในปี พ.ศ. 2540 เป็นต้น ภาณุเดช วัฒนสุชาติ มีงานอดิเรกที่เจ้าตัวชื่นชอบคือ การออกแบบตกแต่งบ้าน เคยเขียนหนังสือเกี่ยวกับการตกแต่งบ้านออกมาหลายเล่ม ผลงานในระยะหลัง คือ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ ในละครโทรทัศน์ทางช่อง 5 เรื่อง กษัตริยา ในปี พ.ศ. 2547 พิธีกร รายการเงาะถอดรูป ทางช่อง 3 ในปี พ.ศ. 2549 และพิธีกรในรายการ ตีท้ายครัว ทางช่อง 3 ในปีเดียวกัน ปัจจุบัน คุณภาณุเดช วัฒนสุชาติ เป็นนักแสดงและผู้อำนวยการสร้าง บริษัท เงาะถอดรูป จำกัด (Actor and Production Designer). นีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (Royal Thai Army Radio and Television; ชื่อย่อ: ททบ.) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) ของกองทัพบกไทย และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่สองของประเทศไทย เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 25 มกราคม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ภาณุเดช วัฒนสุชาติและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

ภาณุเดช วัฒนสุชาติและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก มี 9 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พ.ศ. 2535พ.ศ. 2540พ.ศ. 2547พ.ศ. 2549ภาพยนตร์มิวสิกวิดีโอสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2533และภาณุเดช วัฒนสุชาติ · พ.ศ. 2533และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2534และภาณุเดช วัฒนสุชาติ · พ.ศ. 2534และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2535และภาณุเดช วัฒนสุชาติ · พ.ศ. 2535และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2540และภาณุเดช วัฒนสุชาติ · พ.ศ. 2540และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

พ.ศ. 2547และภาณุเดช วัฒนสุชาติ · พ.ศ. 2547และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2549และภาณุเดช วัฒนสุชาติ · พ.ศ. 2549และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์

กล้องถ่ายภาพเคลื่อนไหวของฟ็อกซ์ในยุคแรก ๆ ภาพยนตร์ หรือ หนัง คือ กระบวนการบันทึกภาพด้วยฟิล์ม แล้วนำออกฉายให้เห็นภาพเคลื่อนไหว ภาพที่ปรากฏบนฟิล์มภาพยนตร์หลังจากผ่านกระบวนการถ่ายทำแล้วเป็นเพียงภาพนิ่งจำนวนมาก ที่มีอิริยาบถหรือแสดงอาการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อยต่อเนื่องกันเป็นช่วงๆ ตามเรื่องราวที่ได้รับการถ่ายทำและตัดต่อมา ซึ่งอาจเป็นเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง หรือเป็นการแสดงให้เหมือนจริง หรืออาจเป็นการแสดงและสร้างภาพจากจินตนาการของผู้สร้างก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นชนิดฟิล์มเนกาทีฟ (negative) หรือฟิล์มโพซิทีฟ (positive) ซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือกระทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏรูปหรือเสียงหรือทั้งรูปและเสียง เป็นเรื่องหรือเหตุการณ์ หรือข้อความอันจักถ่ายทอดรูปหรือเสียง หรือทั้งรูปและเสียงได้ด้วยเครื่องฉายภาพยนตร์หรือเครื่องอย่างอื่นทำนองเดียวกัน และหมายความตลอดถึงฟิล์มซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏสี เพื่ออัดลงในฟิลม์ชนิดดังกล่าว เป็นสาขาที่สร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะในรูปของภาพเคลื่อนไหว และเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมบันเทิง.

ภาณุเดช วัฒนสุชาติและภาพยนตร์ · ภาพยนตร์และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

มิวสิกวิดีโอ

มิวสิกวิดีโอ (Music video) หรือเรียกสั้นๆว่า เอ็มวี (MV) เป็นการถ่ายทอดบทเพลงแบบมีภาพประกอบ โดยยุคแรกๆ มิวสิกวิดีโอ นำมาใช้ในการเผยแพร่เพลงทางโทรทัศน์ ซึ่งมักเป็นรูปแบบการถ่ายภาพวงดนดรีหรือนักร้องที่ร้องเพลง ต่อมามีนำภาพมาประกอบเพลง และพัฒนามาเป็นการการนำเนื้อหาของบทเพลงมาสร้างเป็นเรื่องราว เป็นละครประกอบเพลง พอมาถึงยุคที่คาราโอเกะเป็นที่นิยม มิวสิกวิดีโอ ก็นำมาซ้อนกับเนื้อเพลง ทำเป็น วิดีโอคาราโอเกะ และผลิตเป็นสื่อ วีซีดีคาราโอเกะ ปัจจุบัน มีการให้รางวัลศิลปิน จากการประกวดมิวสิกวิดีโออีกด้วย เช่น งานเอ็มทีวี วิดีโอ มิวสิก อวอร.

ภาณุเดช วัฒนสุชาติและมิวสิกวิดีโอ · มิวสิกวิดีโอและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.

ภาณุเดช วัฒนสุชาติและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ภาณุเดช วัฒนสุชาติและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

ภาณุเดช วัฒนสุชาติ มี 86 ความสัมพันธ์ขณะที่ สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก มี 241 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 9, ดัชนี Jaccard คือ 2.75% = 9 / (86 + 241)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ภาณุเดช วัฒนสุชาติและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: