สารบัญ
38 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2514พ.ศ. 2520พ.ศ. 2521พรพรรณ ฟูตระกูลพงศ์ศักดิ์ วัฒนสินธุ์กรุงเทพมหานครกนก เหวียนระวีภาวิณี อินชมภูภาวดี ธนวิสุทธิ์ภูมิสถาปัตยกรรมภูมิสถาปนิกมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดวัชรบูล ลี้สุวรรณสิรินทรา วัณโณอรรถชัย อนันตเมฆอริยา อรุณินท์อังสนา บุณโยภาสจามรี อาระยานิมิตสกุลถนนพญาไททรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชียทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 2ดนัย ทายตะคุคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฉมาวงศ์ สุริยจันทร์ปวิณ สุวรรณชีพปารณ ชาตกุลนวณัฐ โอศิรินิลุบล คล่องเวสสะแสงอรุณ รัตกสิกรแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติใบอนุญาตประกอบวิชาชีพโมเดิร์นด็อกเกียรติ กิจเจริญเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เขตปทุมวันเดชา บุญค้ำ1 ธันวาคม20 กุมภาพันธ์
พ.ศ. 2514
ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2514
พ.ศ. 2520
ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2520
พ.ศ. 2521
ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2521
พรพรรณ ฟูตระกูล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพรรณ ฟูตระกูล (27 กรกฎาคม 2492 -) อาจารย์ประจำภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีผลงานวิจัยที่เน้นเรื่องท้องถิ่น เช่น ประวัติศาสตร์ภูมิสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของไทยที่สัมพันธ์กับชื่อเรียกสถานที่นั้น ๆ นับว่าเป็นนักวิชาการทางด้านประวัติศาสตร์ศิลป์ทางด้านภูมิสถาปัตยกรรม ที่สำคัญยิ่งคนหนึ่ง ดร.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพรพรรณ ฟูตระกูล
พงศ์ศักดิ์ วัฒนสินธุ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พงศ์ศักดิ์ วัฒนสินธุ์ (3 กันยายน 2497 -) หรือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พงศ์ศักดิ์ วัฒนสินธุ์ ดำรงตำแหน่งคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปัจจุบัน(พ.ศ.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพงศ์ศักดิ์ วัฒนสินธุ์
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรุงเทพมหานคร
กนก เหวียนระวี
อ.กนก จากรายการฟ้าเมืองไทย ช่อง 5 วันที่ 28 กย. 2551 อาจารย์ กนก เหวียนระวี (20 มกราคม 2490 —) เป็นอาจารย์และนักธุรกิจเจ้าของกิจการบ้านจัดสรรและสนามกอล์ฟกรุงกวี เป็นอาจารย์รุ่นบุกเบิกของภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์พิเศษในมหาวิทยาลัยหลายแห่ง มีความเชี่ยวชาญทางด้านพืชสวน สำเร็จปริญญาตรีและโทในสาขาพืชสวน จากมหาวิทยาลัยมิสซุรี สหรัฐอเมริกา อาจารย์กนกเป็นผู้ที่ส่งเสริมการออกแบบภูมิทัศน์โดยอิงกับธรรมชาติ เช่น การใช้ระบบนิเวศดูแลเรื่องแมลง แทนการใช้ยาฆ่าแมลง โดยมักยกกรณีตัวอย่างจากกิจการสนามกอล์ฟของอาจารย์เอง หมวดหมู่:ภูมิสถาปนิก หมวดหมู่:อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ หมวดหมู่:บุคคลจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกนก เหวียนระวี
ภาวิณี อินชมภู
อาจารย์ภาวิณี อินชมภู อาจารย์ประจำภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาภูมิสถาปัตยกรรม จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศึกษาต่อจนจบปริญญาโท สาขาภูมิสถาปัตยกรรม จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐอเมริกา อาจารย์ได้รับทุนจากรัฐบาลไทย ศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก ที่มหาวิทยาลัยวอชิงตัน เมืองซีแอทเทิล สหรัฐอเมริกา หัวข้อเกี่ยวกับสวนสาธารณะ อาจารย์เป็นหนึ่งในนักวิชาการรุ่นใหม่ ที่ผสมผสานความรู้ความเชี่ยวชาญ ทางด้านการออกแบบชุมชนเมืองและภูมิสถาปัตยกรรมเข้าด้วยกัน.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภาวิณี อินชมภู
ภาวดี ธนวิสุทธิ์
ผู้ช่วยศาตราจารย์ภาวดี อังศุสิงห์ (ธนวิสุทธิ์) เป็นภูมิสถาปนิก หัวหน้าภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จบการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาภูมิสถาปัตยกรรม จากมหาวิทยาลัยวอชิงตัน เมืองซีแอทเทิล สหรัฐอเมริก.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภาวดี ธนวิสุทธิ์
ภูมิสถาปัตยกรรม
วนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ ตัวอย่างงานภูมิสถาปัตยกรรมประเภทสวนสาธารณะส่วนที่เป็นสวนแบบ "รูปนัย" ภูมิสถาปัตยกรรม (landscape architecture) อ่านออกเสียงว่า "พู-มิ-สะ-ถา-ปัด-ตะ-ยะ-กัม" เป็นศิลปะและวิทยาศาสตร์ว่าด้วยการออกแบบวางแผน การอนุรักษ์และจัดการพื้นที่ใช้สอยภายนอกอาคาร รวมทั้งพื้นที่บางส่วนภายในหรือบนดาดฟ้าอาคารเพื่อความผาสุก สวัสดิภาพและความปลอดภัยของประชาชน.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภูมิสถาปัตยกรรม
ภูมิสถาปนิก
ูมิสถาปนิก ถือว่าเป็นนักวิชาชีพผู้ประกอบวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรม ซึ่งเป็นหนึ่งในวิชาชีพควบคุมลักษณะเดียวกันกับแพทย์และนักกฎหมายเนื่องจากบุคคลเหล่านี้ จะต้องได้รับการศึกษาเป็นการพิเศษเฉพาะ และจะต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเช่นเดียวกับผู้ประกอบวิชาชีพอื่น เฟรเดอริก ลอว์ ออล์มสเตด ชาวสหรัฐฯ ผู้ได้รับการยกย่องเป็น "บิดาแห่งภูมิสถาปัตยกรรมสมัยใหม่" เป็นผู้ขนานนามผู้ประกอบวิชาชีพนี้ว่า Landscape architect เป็นครั้งแรก ในต่างประเทศ การเข้าสู่สายวิชาชีพจะต้องผ่านการศึกษาเล่าเรียนขั้นสูง ผ่านการฝึกหัดงานและผ่านการสอบรับใบอนุญาต เพื่อป้องกันความเสียหายจากสถาปนิกที่ไม่มีคุณภาพ หรือไม่มีจรรยาบรรณ ผู้ปฏิบัติวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมจะรวมตัวกันตั้งสมาคมวิชาชีพขึ้นเพื่อร่วมกันจรรโลงสาขาวิชาชีพแห่งตนให้เข้มแข็ง ในสหรัฐอเมริกาใช้ชื่อว่า สมาคมภูมิสถาปนิกอเมริกัน (American Society of Landscape Architects - ASLA) ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภูมิสถาปนิก
มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard University อ่านว่า ฮารฺเวิรฺด) มหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกาได้ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของโลก แห่งหนึ่งและเป็นหนึ่งมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดของสหรัฐอเมริกา โดยก่อตั้งเมื่อปี 8 กันยายน พ.ศ.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
วัชรบูล ลี้สุวรรณ
วัชรบูล ลี้สุวรรณ (โน้ต) เกิดวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2524 เป็นนักแสดง และเคยเป็นวีเจทางเอ็มทีวีไทยแลน.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวัชรบูล ลี้สุวรรณ
สิรินทรา วัณโณ
รินทรา วัณโณ (1 กุมภาพันธ์ 2521 -) เป็นอาจารย์ประจำ ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศึกษาระดับประถมและมัธยมจากโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท 2 สาขาทั้งสถาปัตยกรรม และภูมิสถาปัตยกรรม โดยอาจารย์ได้จบปริญญาตรีและโทสาขาสถาปัตยกรรม จาก Savannah College of Art and Design-SCAD สหรัฐอเมริกา 2544 และจบปริญญาโทในสาขาภูมิสถาปัตยกรรม จากมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา 2547 การที่อาจารย์เป็นบุตรสาวของอุปนายกสมาคมไม้ประดับแห่งประเทศไทย อาจารย์สุรัตน์ วัณโณทำให้อาจารย์สนใจเรื่องต้นไม้มาแต่เล็ก.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสิรินทรา วัณโณ
อรรถชัย อนันตเมฆ
อรรถชัย อนันตเมฆ เกิดเมื่อวันที่ (22 เมษายน พ.ศ. 2508 -) ที่จังหวัดนราธิวาส จบการศึกษาจากโรงเรียนเซนต์ดอมินิกรุ่นที่ 15 และภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อปี พ.ศ.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอรรถชัย อนันตเมฆ
อริยา อรุณินท์
รองศาสตราจารย์ ดร.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอริยา อรุณินท์
อังสนา บุณโยภาส
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อังสนา บุณโยภาส (9 พฤศจิกายน 2500 —) อดีตหัวหน้าภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีความเชี่ยวชาญพิเศษทางด้านการวางแผนการท่องเที่ยว และสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เพื่อการวางแผนออกแบบสิ่งแวดล้อม และมีผลงานวิชาการที่โดดเด่นในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาฟื้นฟูพื้นที่ดินบราวน์ฟิลด์หรือที่ดินที่เคยพัฒนามาก่อนแล้วเสื่อมโทรมถูกทิ้งร้าง (Brownfield) ดร.อังสนา จบปริญญาเอก สาขาการออกแบบสิ่งแวดล้อม (Environmental Design) จากมหาวิทยาลัยเทกซัส เอแอนด์เอ็ม สหรัฐอเมริกา โดยดุษฎีนิพนธ์มีหัวข้อเกี่ยวกับ การประเมินศักยภาพเพื่อการท่องเที่ยวของเกาะสม.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอังสนา บุณโยภาส
จามรี อาระยานิมิตสกุล
รองศาสตราจารย์ จามรี อาระยานิมิตสกุล (1 มีนาคม 2498 —) อาจารย์ประจำภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอดีตรองคณบดี ฝ่ายบริการวิชาการของคณะ กรรมการสภาสถาปนิก ชุดที่ 4 (2553-2556) ในสาขาภูมิสถาปัตยกรรม มีผลงานการออกแบบวางผัง และคู่มือการพัฒนาภูมิทัศน์ให้แก่หน่วยงานราชการ เช่น อุทยานแห่งชาติ ภูมิทัศน์ทางหลวง/ทางหลวงชนบท และเมืองเพื่อการท่องเที่ยวต่าง ๆ ในอดีตเคยเป็นนายกสมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย มีผลงานจัดการประชุมนานาชาติทางภูมิสถาปัตยกรรมในประเทศไทย ซึ่งประสบผลสำเร็จเป็นอย่างมาก อาจารย์จามรีจบปริญญาโท สาขาภูมิสถาปัตยกรรม จากมหาวิทยาลัยมิชิแกน สหรัฐอเมริก.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจามรี อาระยานิมิตสกุล
ถนนพญาไท
นนพญาไทช่วงมาบุญครองและสี่แยกปทุมวัน ถนนพญาไท (Thanon Phaya Thai) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ถนนพระรามที่ 4 (สี่แยกสามย่าน) ไปทางทิศเหนือ เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงวังใหม่กับแขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน ผ่านจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากนั้นตัดกับถนนพระรามที่ 1 (สี่แยกปทุมวัน) ข้ามคลองบางกะปิ หรือคลองแสนแสบ (ที่สะพานเฉลิมหล้า 56 หรือสะพานหัวช้าง) เข้าสู่ท้องที่แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี ตัดกับถนนเพชรบุรี (สี่แยกราชเทวี) จากนั้นเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงทุ่งพญาไทและแขวงถนนพญาไท โดยตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามทางรถไฟสายตะวันออก ตัดกับถนนศรีอยุธยา (สี่แยกพญาไท) ไปสิ้นสุดที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ โดยมีแนวถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือ ถนนพหลโยธิน.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและถนนพญาไท
ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย
ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย (True Academy Fantasia) (เดิมชื่อ ยูบีซี อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย) (UBC Academy Fantasia) หรือ ปฏิบัติการล่าฝัน เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์เพื่อค้นหานักล่าฝันที่ได้รับความนิยมสูงสุด บริษัท ทรู วิชั่นส์ จำกัด (มหาชน)ซื้อลิขสิทธิ์และรูปแบบของรายการ La Academia จากประเทศเม็กซิโก ซึ่งมีรูปแบบที่คล้ายคลึงกับรายการ Star Academy ที่แพร่หลายไปทั่วโลกแต่ปรับเปลี่ยนมาเป็นเรียลลิตี้ 24 ชั่วโมง เป็นลำดับที่ 3 ถัดจากมาเลเซียและอินโดนีเซี.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย
ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 2
ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ฤดูกาลที่ 2 (ชื่อเดิม: ยูบีซี อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ฤดูกาลที่ 2) เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ ทางทรูวิชั่นส์ จัดขึ้นระหว่างวันที่ 18 กรกฎาคม - 8 ตุลาคม พ.ศ.
ดนัย ทายตะคุ
ร.ดนัย ทายตะคุ (3 มีนาคม) ภูมิสถาปนิกและนักวิจัย ผู้บุกเบิกและผู้เชี่ยวชาญแนวทางการออกแบบภูมิทัศน์นิเวศวิทยา นับว่าเป็นคนแรกของประเทศไทย จบมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยเมื่อ พ.ศ.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและดนัย ทายตะคุ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็นหนึ่งในสี่คณะกลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ร่วมของไทยในสาขาสถาปัตยกรรม และ สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง (อันดับที่ 101 - 150 ของโลก) จากการจัดอันดับของ QS world university ranking by Subject.
ฉมาวงศ์ สุริยจันทร์
อาจารย์ ฉมาวงศ์ สุริยจันทร์ เป็นอาจารย์ในภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและฉมาวงศ์ สุริยจันทร์
ปวิณ สุวรรณชีพ
ปวีณ สุวรรณชีพ หรือรู้จักกันในนาม โป้ง โมเดิร์นด็อก เป็นนักดนตรีชาวไทยและเป็นมือกลองวง โมเดิร์นด็อก ภายหลังปวิณได้มาร่วมกับรายการจักรยาน Life Cycle.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปวิณ สุวรรณชีพ
ปารณ ชาตกุล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปารณ ชาตกุล อาจารย์ประจำภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาสถาปัตยกรรมภายใน จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศึกษาต่อจนจบปริญญาโท สาขาภูมิสถาปัตยกรรม จากภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์เป็นหนึ่งในนักวิชาการรุ่นใหม่ ที่ผสมผสานความรู้ความเชี่ยวชาญ ทางด้านการออกแบบสถาปัตยกรรมภายในและภูมิสถาปัตยกรรมเข้าด้วยกัน.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปารณ ชาตกุล
นวณัฐ โอศิริ
รองศาสตราจารย์ ดร.นวณัฐ โอศิริ (21 เมษายน 2512 —) อาจารย์ประจำภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดร.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนวณัฐ โอศิริ
นิลุบล คล่องเวสสะ
รองศาสตราจารย์ นิลุบล คล่องเวสสะ (28 พฤศจิกายน 2498 —) อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิประจำภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม และเคยดำรงตำแหน่งรองคณบดี ฝ่ายวางแผนของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จบการศึกษาปริญญาโทจากมหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต และปริญญาตรี สาขาสถาปัตยกรรม จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนิลุบล คล่องเวสสะ
แสงอรุณ รัตกสิกร
รองศาสตราจารย์แสงอรุณ รัตกสิกร (19 มกราคม พ.ศ. 2465 - 15 ตุลาคม พ.ศ. 2522) เป็นสถาปนิกชาวไทย อดีตอาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นที่รู้จักในฐานะผู้ร่วมก่อตั้งภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แสงอรุณ เป็นชาวตำบลดงพระราม อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี เป็นบุตรของ.อ.พระยาวิเศษสิงหหนาท (สาหร่าย รัตกสิกร) และคุณหญิงระเบียบ สกุลเดิม คงพันธุ์ เริ่มศึกษาที่โรงเรียนประจำจังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นย้ายมาศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพฯ และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ต่อมาเข้าศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และได้รับทุน ก..
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแสงอรุณ รัตกสิกร
แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ
แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (ชื่อย่อ: นปช.; United Front of Democracy Against Dictatorship; UDD) มีชื่อเดิมว่า แนวร่วมประชาธิปไตยขับไล่เผด็จการ (ชื่อย่อ: นปก.; Democratic Alliance Against Dictatorship: DAAD) เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทย ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ ดร.
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ เป็นใบอนุญาตให้สามารถประกอบวิชาชีพนั้น ๆ ตามสาขาที่เรียนมา โดยผู้ที่จะได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพจะต้องมีคุณสมบัติตามที่องค์กรออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพกำหนดไว้ ผู้ที่ไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพจะไม่สามารถประกอบวิชาชีพนั้น ๆ ได้ ถ้าฝ่าฝืนจะมีโทษตามที่องค์กรวิชาชีพแต่ล่ะองค์กรกำหนดไว้.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
โมเดิร์นด็อก
มเดิร์นด็อก (Moderndog) นักดนตรีกลุ่มแนวออลเทอร์นาทิฟร็อกของไทยซึ่งเป็นวงดนตรีแรกในค่ายเพลงเบเกอรี่มิวสิค และเป็นหนึ่งในนักดนตรีกลุ่มแรก ๆ ที่จุดประกายดนตรีทางเลือก (ออลเทอร์นาทิฟ) ซึ่งต่อมาแนวเพลงดังกล่าวได้รับความนิยมในประเทศไทย อย่างมากในปี พ.ศ.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโมเดิร์นด็อก
เกียรติ กิจเจริญ
กียรติ กิจเจริญ มีชื่อเล่นว่า กิ๊ก หรือที่นิยมเรียกกันว่า ซูโม่กิ๊ก (22 กันยายน 2506 -) นักแสดงและพิธีกรชาวไท.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเกียรติ กิจเจริญ
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เขตปทุมวัน
ตปทุมวัน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ การพยาบาล วัฒนธรรม การศึกษา และการทูต เป็นเขตหนึ่งที่มีที่ตั้งอยู่บริเวณใจกลางที่สุดของกรุงเทพมหานครและที่มีการคมนาคมหลากหลายช่องทาง.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเขตปทุมวัน
เดชา บุญค้ำ
ตราจารย์กิตติคุณ เดชา บุญค้ำ (เกิด 13 ตุลาคม พ.ศ. 2482 -) ราชบัณฑิต ประเภทวิชาสถาปัตยศิลป์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม สำนักศิลปกรรมศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภูมิสถาปัตยกรรม) ประจำปี 2549 ภูมิสถาปนิกคนสำคัญของเมืองไทย ผู้บุกเบิกด้านการศึกษาและวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมของประเทศไทย ได้ออกแบบงานภูมิสถาปัตยกรรมที่สำคัญหลายแห่ง ไม่ว่าจะเป็น สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์เขตต่างๆ, สวนหลวง ร.๙, อุทยานเบญจสิริ, สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ และอื่นๆ รวมทั้งงานภูมิทัศน์วัดโสธรวรารามวรวิหาร ผังแม่บทภูมิทัศน์เดิมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (พ.ศ.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเดชา บุญค้ำ
1 ธันวาคม
วันที่ 1 ธันวาคม เป็นวันที่ 335 ของปี (วันที่ 336 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 30 วันในปีนั้น.
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ1 ธันวาคม
20 กุมภาพันธ์
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 51 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 314 วันในปีนั้น (315 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ20 กุมภาพันธ์