โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแอมโมไนต์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแอมโมไนต์

ภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย vs. แอมโมไนต์

วิชาธรณีวิทยา จุฬาฯ ถ่ายเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2548 ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานด้านการศึกษาแรกของประเทศไทย ที่เปิดให้มีการเรียนการสอนด้านธรณีวิทยาในระดับมหาวิทยาลัยอย่างเป็นทางการ โดยเปิดทำการสอนตั้งแต่ พ.ศ. 2501 และรับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยให้จัดตั้งเป็นภาควิชาธรณีวิทยาขึ้นในคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อย่างเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ. 2502 ปัจจุบันเปิดสอนทั้งในระดับปริญญาตรี โท และเอก ในหลักสูตร ธรณีวิทยา และ โลกศาสตร์ (วิทยาศาสตร์โลก). แอมโมไนต์ แบบต่างๆ แอมโมไนต์ (Ammonite) เป็นสัตว์ประเภทนอติลอยด์ชนิดหนึ่ง มนุษย์ในอดีตพบมันมานานแล้ว แต่ยังไม่ทราบว่าเป็นอะไร มนุษย์ในยุคนั้นคิดว่ามันเป็นซากของงู ที่ตายและคดตัวเป็นวงกลม แอมโมไนต์พบได้หลายที่บนโลก รวมทั้งประเทศไทยด้วย มันมีอยู่หลากหลายชนิด และพบได้ทั่วไปในทะเลดึกดำบรรพ์ จนกระทั่งมันสูญพันธุ์ไปพร้อมกับไดโนเสาร์ เมื่อ 65 ล้านปีก่อน ในช่วงปลายยุคครีเทเชียส แอมโมไนต์วิวัฒนาการไปเป็น ปลาหมึก หอย และ หอยงวงช้าง แอมโมไนต์มีขนาดตั้งแต่ 23 เซนติเมตร (9 นิ้ว) ไปจนถึง 2 เมตร แอมโมไนต์เป็นสัตว์พวกหอยโบราณ ที่เกิดในมหายุคพาลีโอโซอิกจนถึงมหายุคมีโสโซอิกอาศัยในทะเล ปัจจุบันพวกที่สืบทอดมาได้แก่ ปลาหมึกกล้วย ปลาหมึกยักษ์ และหอยงวงช้าง หมวดหมู่:ซากดึกดำบรรพ์.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแอมโมไนต์

ภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแอมโมไนต์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแอมโมไนต์

ภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี 37 ความสัมพันธ์ขณะที่ แอมโมไนต์ มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (37 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแอมโมไนต์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »