โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาคตัดขวาง (ฟิสิกส์)และเครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ่

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ภาคตัดขวาง (ฟิสิกส์)และเครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ่

ภาคตัดขวาง (ฟิสิกส์) vs. เครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ่

เมื่ออนุภาคสองตัวมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน ภาคตัดขวางร่วมกันของทั้งสองอนุภาค คือ บริเวณที่ผกผันกับการเคลื่อนที่สัมพัทธ์ของทั้งสองอนุภาค นั่นคือบริเวณที่เกิดการกระเจิงต่อกันนั่นเอง ถ้าอนุภาคเป็นทรงกลมไม่ยืดหยุ่น ภาคตัดขวางจะเกิดเฉพาะตอนที่อนุภาคทั้งสองสัมผัสกันเท่านั้น ดังนั้น ภาคตัดขวางของการกระเจิงมีความสัมพันธ์กับขนาดของอนุภาค แต่ถ้าหากอนุภาคมีปฏิสัมพันธ์กันอันเนื่องมาจากแรงที่ระยะต่าง ๆ เช่น แรงโน้มถ่วง แรงแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นต้น ภาคตัดขวางของการกระเจิงจะมีขนาดใหญ่กว่าขนาดของอนุภาค เมื่อเราระบุให้ภาคตัดขวางเป็นฟังก์ชันของตัวแปรในสถานะสุดท้ายของอนุภาค เช่น มุม พลังงาน เป็นต้น เราจะเรียกว่า differential cross section แต่เมื่อภาคตัดขวางคือบริเวณทั้งหมดที่มุมของการกระเจิงกวาดไปได้ จะเรียกว่า total cross section ภาคตัดขวางถูกระบุด้วย (sigma) มีหน่วยเดียวกันกับพื้นที่ ภาคตัดขวางของการกระเจิงอาจถูกบัญญัติในเรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์ ฟิสิกส์อะตอม และฟิสิกส์ของอนุภาค หัวข้อการชนของลำอนุภาคพุ่งชนเป้า ความน่าจะเป็นของการเกิดการกระเจิงใด ๆ เป็นสัดส่วนของภาคตัดขวางของการกระเจิงนั้น ดังนั้น การเจาะจงภาคตัดขวางของการกระเจิง คือ ตัวแทนของความน่าจะเป็นของการกระเจิงที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ในการวัดอัตราของการกระเจิงขึ้นอยู่กับตัวแปรเกี่ยวกับการทดลอง เช่น ความหนาแน่นของวัสดุที่เป็นเป้า ความเข้มของลำอนุภาค ประสิทธิภาพของตัววัดของเครื่องมือ มุมที่ติดตั้งเครื่องมือวัด เป็นต้น หมวดหมู่:ฟิสิกส์นิวเคลียร์ หมวดหมู่:ฟิสิกส์อะตอม หมวดหมู่:มโนทัศน์ทางฟิสิกส์ หมวดหมู่:ฟิสิกส์อนุภาค หมวดหมู่:การกระเจิง หมวดหมู่:ทฤษฎีการกระเจิง หมวดหมู่:การวิเคราะห์เชิงมิติ หมวดหมู่:การวัด. รูปเครื่องเร่งอนุภาค LHC แผนผังแสดงส่วนต่างๆ ของ LHC แผนที่แสดงขอบเขตของ LHC ''superconducting quadrupole electromagnetas'' หรือท่อตัวนำยิ่งยวดแม่เหล็กไฟฟ้าสี่ขั้ว สำหรับใช้นำอนุภาคไปสู่จุดที่กำหนดสำหรับการชน เครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ่ (Large Hadron Collider; LHC) คือเครื่องเร่งอนุภาคที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีเป้าหมายที่จะสร้างอนุภาคโปรตอน 7 TeV ขึ้น เพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงและข้อจำกัดของทฤษฎีทางฟิสิกส์อนุภาคที่มีอยู่ในปัจจุบันอันอยู่ภายใต้กฎของแรงทั้งสี่ องค์กรวิจัยนิวเคลียร์แห่งยุโรป (European Organization for Nuclear Research) หรือ เซิร์น (Conseil Européen pour la Recherche Nucléaire) เป็นผู้สร้างเครื่องนี้ขึ้นที่บริเวณเขตแดนประเทศฝรั่งเศสและสวิตเซอร์แลนด์ ใกล้กับกรุงเจนีวา เป็นท่อใต้ดินลักษณะเป็นวงแหวนขนาดความยาวเส้นรอบวง 27 กิโลเมตร เครื่อง LHC นี้ถือว่าเป็นเครื่องเร่งอนุภาคที่มีขนาดใหญ่ที่สุดและใช้พลังงานสูงที่สุดของโลก สร้างขึ้นจากเงินทุนและการสนับสนุนรวมทั้งความร่วมมือจากนักฟิสิกส์มากกว่า 8,000 คน จาก 85 ประเทศ ในมหาวิทยาลัยและห้องทดลองทั่วโลกนับร้อยแห่ง ในระหว่างการก่อสร้าง เซิร์นเปิดโอกาสให้อาสาสมัครจากทั่วโลก ได้เข้าร่วมบริจาคการทำงานของคอมพิวเตอร์ เพื่อจำลองพฤติกรรมที่เกิดขึ้นภายในเครื่อง LHC เพื่อช่วยในการออกแบบ และปรับแต่งระบบ ด้วยโครงการที่มีชื่อว่า LHC@home ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2547 โครงการนี้ดำเนินการบนระบบ Berkeley Open Infrastructure for Network Computing ของมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ เครื่องเร่งนี้สามารถทำความเย็นลงได้ต่ำที่สุดที่ประมาณ 1.9 K (หรือ −271.25 °C) เป็นอุณหภูมิที่ทำลงไปใกล้อุณหภูมิสัมบูรณ์มากที่สุด ได้มีการทดสอบยิงอนุภาคเริ่มต้นสำเร็จแล้วในช่วงวันที่ 8-11 สิงหาคม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ภาคตัดขวาง (ฟิสิกส์)และเครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ่

ภาคตัดขวาง (ฟิสิกส์)และเครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ่ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ภาคตัดขวาง (ฟิสิกส์)และเครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ่

ภาคตัดขวาง (ฟิสิกส์) มี 1 ความสัมพันธ์ขณะที่ เครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ่ มี 21 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (1 + 21)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ภาคตัดขวาง (ฟิสิกส์)และเครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ่ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »