โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภัยพิบัติเชียร์โนบีลและสแครม

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ภัยพิบัติเชียร์โนบีลและสแครม

ภัยพิบัติเชียร์โนบีล vs. สแครม

รงไฟฟ้าเชียร์โนบีลในปัจจุบัน แผนที่แสดงที่ตั้งของโรงไฟฟ้าเชียร์โนบีล เมือง Pripyat ที่ถูกทิ้งร้าง จะเห็นโรงไฟฟ้าเชียร์โนบีลอยู่ไกล ๆ ภัยพิบัติเชียร์โนบีล (Чорнобильська катастрофа, Čornobyľśka katastrofa; Chernobyl disaster) เป็นอุบัติเหตุทางนิวเคลียร์ขั้นร้ายแรงที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 26 เมษายน ค.ศ. 1986 ที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์เชียร์โนบีล ตั้งอยู่ที่นิคมเชียร์โนบีล ริมฝั่งแม่น้ำนีเปอร์ ใกล้เมืองพริเพียต แคว้นเคียฟ ทางตอนเหนือของยูเครน ใกล้ชายแดนเบลารุส (ในขณะนั้นยูเครนและเบลารุสยังเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต) อุบัติเหตุที่เชียร์โนบีลนี้เป็นอุบัติเหตุที่เกิดกับโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ที่ร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ในแง่ของค่าใช้จ่ายและชีวิต อุบัติเหตุเกิดขึ้นเมื่อวิศวกรได้ทำการทดสอบการทำงานของระบบหล่อเย็น และระบบทำความเย็นฉุกเฉินของแกนปฏิกรณ์นิวเคลียร์ แต่การทดสอบระบบได้ล่าช้ากว่ากำหนดจนต้องทำการทดสอบโดยวิศวกรกะกลางคืน ได้เกิดแรงดันไอน้ำสูงขึ้นอย่างฉับพลัน แต่ระบบตัดการทำงานอัตโนมัติไม่ทำงาน ส่งผลให้เกิดความร้อนสูงขึ้นจนทำให้แกนปฏิกรณ์นิวเคลียร์หมายเลข 4 หลอมละลาย และเกิดระเบิดขึ้น ผลจากการระเบิดทำให้เกิดขี้เถ้าปนเปื้อนกัมมันตภาพรังสีพวยพุ่งขึ้นสู่บรรยากาศ ปกคลุมทางตะวันตกของสหภาพโซเวียต ยุโรปตะวันออก ยุโรปตะวันตก ยุโรปเหนือ ทางการยูเครน เบลารุส และรัสเซีย ต้องอพยพประชากรมากกว่า 336,431 คน ออกจากพื้นที่อย่างฉุกเฉิน อุบัติเหตุครั้งนี้เป็นหนึ่งในสองครั้งที่ได้รับการจัดความรุนแรงไว้ที่ระดับ 7 ซึ่งเป็นระดับสูงสุดตามมาตราระหว่างประเทศว่าด้วยเหตุการณ์ทางนิวเคลียร์ อีกครั้งหนึ่งเป็นของภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิในปี 2011 สงครามเพื่อต่อสู้กับการปนเปื้อนและป้องกันไม่ให้เกิดการสูญเสียมากไปกว่านี้เกี่ยวข้องกับคนงานทั้งทหารและพลเรือนกว่า 500,000 คนและค่าใช้จ่ายประมาณ 18 พันล้านรูเบิ้ลGorbachev, Mikhail (1996), interview in Johnson, Thomas,,, Discovery Channel, retrieved 19 February 2014. Experimental Breeder Reactor I) สแครม หรือ (SCRAM) เป็นการปิดระบบอย่างฉุกเฉินของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ คำนี้ยังถูกนำไปใช้ให้ครอบคลุมถึงการปิดระบบการทำงานที่ซับซ้อนอื่น ๆ เช่นฟาร์มเซิร์ฟเวอร์และแม้กระทั่งรถไฟจำลองขนาดใหญ่ ในการดำเนินงานของเครื่องปฏิกรณ์เชิงพาณิชย์ การปิดระบบฉุกเฉินนี้มักจะถูกเรียกว่าเป็น "สแครม" สำหรับเครื่องปฏิกรณ์แบบน้ำเดือด (BWR) และจะถูกเรียกว่าเป็น "เครื่องปฏิกรณ์ทริป" สำหรับเครื่องปฏิกรณ์แบบน้ำแรงดันสูง (PWR) ในหลายกรณี สแครมก็เป็นส่วนหนึ่งของขั้นตอนการปิดระบบตามปกติเช่นกัน คำว่า SCRAM นี้มักจะถูกอ้างว่าเป็นตัวย่อของ "safety control rod axe man" ซึ่งคาดว่าจะถูกกำหนดโดยนายเอนรีโก แฟร์ เมื่อเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์เครื่องแรกของโลกได้ถูกสร้างขึ้นภายใต้ผู้นั่งชมที่มหาวิทยาลัยชิคาโกที่เมืองสแต๊กซ์ฟิลด์ แต่นักประวัติศาสตร์ของ NRC นายทอม Wellock เรียกเรื่องของ axe man ว่าเป็น "พูดเล่นไร้สาระ" มันน่าจะเป็นคำย่อสำหรับ Safety Control Rods Actuator Mechanism หรือ กลไกเพื่อขับเคลื่อนแท่งควบคุมเพื่อความปลอดภัย คำว่า 'Scram' ยังเป็นคำสั่งด้วยวาจาเพื่อบอกบุคคลหรือสิ่งของบางอย่างให้ออกจากพื้นที่อย่างรวดเร็วและเร่งด่วนอีกด้ว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ภัยพิบัติเชียร์โนบีลและสแครม

ภัยพิบัติเชียร์โนบีลและสแครม มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ภัยพิบัติเชียร์โนบีลและสแครม

ภัยพิบัติเชียร์โนบีล มี 26 ความสัมพันธ์ขณะที่ สแครม มี 3 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (26 + 3)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ภัยพิบัติเชียร์โนบีลและสแครม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »