โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ

ดัชนี ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ

ัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ (Fukushima Daiichi nuclear disaster) เป็นอุบัติเหตุด้านพลังงานที่เกิดขึ้นที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ หมายเลข I ที่เป็นผลเบื้องต้นมาจากคลื่นสึนามิจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554 ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 11 มีนาคม ค.ศ. 2011Phillip Lipscy, Kenji Kushida, and Trevor Incerti.

20 ความสัมพันธ์: บางกอกโพสต์พ.ศ. 2554กริด (ไฟฟ้า)การสลายให้กัมมันตรังสีการแบ่งแยกนิวเคลียสภัยพิบัติเชียร์โนบีลมาตราระหว่างประเทศว่าด้วยเหตุการณ์ทางนิวเคลียร์รอยเตอร์สลอสแอนเจลิสไทมส์สแครมองค์การอนามัยโลกทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศคลื่นสึนามิแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554แท่งควบคุมโพแทสเซียมไอโอไดด์โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิเอ็นเอชเคเดอะการ์เดียนเนเจอร์ (วารสาร)

บางกอกโพสต์

งกอกโพสต์ (Bangkok Post) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาอังกฤษ ที่ตีพิมพ์จำหน่ายในประเทศไทย ของบางกอกโพสต์ บางกอกโพสต์ ตีพิมพ์และออกจำหน่ายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดย บริษัท โพสต์พับลิชชิ่ง จำกัด ซึ่งบุคคลที่มีบทบาทสำคัญ และถือว่าเป็นผู้ให้กำเนิดหนังสือพิมพ์ฉบับนี้คือ นาวาตรีอเล็กซานเดอร์ วิลเลี่ยม แมคโดนัล นายทหารชาวอเมริกัน ที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย ในระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา เพื่อปฏิบัติการร่วมกับขบวนการเสรีไทย ทั้งนี้ ก่อนที่จะรับราชการทหารนั้น นาวาตรีแมคโดนัล มีอาชีพเป็นนักหนังสือพิมพ์มาก่อน จากนั้น จึงขายกิจการแก่นักลงทุนชาวเยอรมัน ต่อมา ลอร์ดทอมสัน ซึ่งเป็นเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ลอนดอนไทม์ และหัวอื่นๆ อีกกว่า 150 ฉบับทั่วโลก ได้เข้าซื้อหุ้นของบริษัทฯ เกือบทั้งหมด พร้อมเข้าบริหาร จนกระทั่งเดือนธันวาคม พ.ศ. 2527 คณะผู้บริหารมีมติให้นำบริษัทฯ เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไท.

ใหม่!!: ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิและบางกอกโพสต์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

กริด (ไฟฟ้า)

ผังทั่วไปของเครื่อข่ายไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้าและการอธิบายภาพของสายส่งไฟฟ้าเป็นแบบทั่วไปของประเทศเยอรมันและระบบอื่นๆของยุโรป กริดไฟฟ้าหรือ (grid electrical)เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อกันสำหรับการจ่าย ไฟฟ้าจากผู้ผลิตต่างๆไปยังผู้บริโภค มันประกอบไปด้วยสถานีผลิตพลังงานไฟฟ้า, สายส่งไฟฟ้าแรงสูงที่นำส่งพลังงานจากแหล่งที่ห่างไกลให้กับศูนย์ที่ต้องการใช้และสายกระจายแรงต่ำที่เชื่อมต่อลูกค้าแต่ละราย สถานีผลิตพลังงานอาจจะอยู่ใกล้ แหล่งเชื้อเพลิง, ที่ตั้งเขื่อนหรือการใช้ประโยชน์จากแหล่งพลังงานหมุนเวียน และมักจะตั้งอยู่ห่างจากพื้นที่ที่มีประชากรหนาแน่นมาก พวกมันมักจะค่อนข้างใหญ่เพื่อใช้ประโยชน์จากการประหยัดจากขนาด(economy of scale) พลังงานไฟฟ้าที่ถูกสร้างขึ้นจะถูกแปลงให้มีแรงดันที่สูงขึ้นในระดับแรงดันเดียวกับกับเครือข่ายการส่งเพื่อส่งเข้าไปในสายส่งนั้น เครือข่ายการส่งกำลังจะขนส่งไฟฟ้าระยะทางไกล บางครั้งข้ามเขตแดนระหว่างประเทศจนกระทั่งถึงลูกค้าขายส่งของมัน (โดยปกติจะเป็นบริษัทที่เป็นเจ้าของเครือข่ายการจัดจำหน่ายในพื้นที่) เมื่อมาถึงที่สถานีพลังงานย่อย พลังงานไฟฟ้าจะถูกลดระดับแรงดันไฟฟ้าลงสู่ระดับแรงดันไฟฟ้ากระจาย เมื่อออกจากสถานีย่อย ม้นจะเข้าสู่สายกระจาย ในที่สุดเมื่อมาถึงสถานที่บริการ กำลังจะถูกลดลงอีกครั้งจากแรงดันการกระจายไปเป็นแรงดันไฟฟ้าที่จะให้บริการที่จำเป็น.

ใหม่!!: ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิและกริด (ไฟฟ้า) · ดูเพิ่มเติม »

การสลายให้กัมมันตรังสี

การสลายให้อนุภาคแอลฟา เป็นการสลายให้กัมมันตรังสีชนิดหนึ่งที่นิวเคลียสของอะตอมปลดปล่อย อนุภาคแอลฟา เป็นผลให้อะตอมแปลงร่าง (หรือ "สลาย") กลายเป็นอะตอมที่มีเลขมวลลดลง 4 หน่วยและเลขอะตอมลดลง 2 หน่วย การสลายให้กัมมันตรังสี (radioactive decay) หรือ การสลายของนิวเคลียส หรือ การแผ่กัมมันตรังสี (nuclear decay หรือ radioactivity) เป็นกระบวนการที่ นิวเคลียสของอะตอมที่ไม่เสถียร สูญเสียพลังงานจากการปลดปล่อยรังสี.

ใหม่!!: ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิและการสลายให้กัมมันตรังสี · ดูเพิ่มเติม »

การแบ่งแยกนิวเคลียส

prompt gamma rays) ออกมาด่วย (ไม่ได้แสดงในภาพ) การแบ่งแยกนิวเคลียส หรือ นิวเคลียร์ฟิชชัน (nuclear fission) ในสาขาฟิสิกส์นิวเคลียร์และเคมีนิวเคลียร์ เป็นปฏิกิริยานิวเคลียร์หรือกระบวนการการสลายกัมมันตรังสีอย่างหนึ่งที่นิวเคลียสของอะตอม แตกออกเป็นชิ้นขนาดเล็ก (นิวเคลียสที่เบากว่า) กระบวนการฟิชชันมักจะผลิตนิวตรอนและโปรตอนอิสระ (ในรูปของรังสีแกมมา) พร้อมทั้งปลดปล่อยพลังงานออกมาจำนวนมาก แม้ว่าจะเป็นการปลดปล่อยจากการสลายกัมมันตรังสีก็ตาม นิวเคลียร์ฟิชชันของธาตุหนักถูกค้นพบเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 1938 โดยชาวเยอรมัน นายอ็อตโต ฮาห์นและผู้ช่วยของเขา นายฟริตซ์ Strassmann และได้รับการอธิบายในทางทฤษฎีในเดือนมกราคมปี 1939 โดยนาง Lise Meitner และหลานชายของเธอ นายอ็อตโต โรเบิร์ต Frisch.

ใหม่!!: ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิและการแบ่งแยกนิวเคลียส · ดูเพิ่มเติม »

ภัยพิบัติเชียร์โนบีล

รงไฟฟ้าเชียร์โนบีลในปัจจุบัน แผนที่แสดงที่ตั้งของโรงไฟฟ้าเชียร์โนบีล เมือง Pripyat ที่ถูกทิ้งร้าง จะเห็นโรงไฟฟ้าเชียร์โนบีลอยู่ไกล ๆ ภัยพิบัติเชียร์โนบีล (Чорнобильська катастрофа, Čornobyľśka katastrofa; Chernobyl disaster) เป็นอุบัติเหตุทางนิวเคลียร์ขั้นร้ายแรงที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 26 เมษายน ค.ศ. 1986 ที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์เชียร์โนบีล ตั้งอยู่ที่นิคมเชียร์โนบีล ริมฝั่งแม่น้ำนีเปอร์ ใกล้เมืองพริเพียต แคว้นเคียฟ ทางตอนเหนือของยูเครน ใกล้ชายแดนเบลารุส (ในขณะนั้นยูเครนและเบลารุสยังเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต) อุบัติเหตุที่เชียร์โนบีลนี้เป็นอุบัติเหตุที่เกิดกับโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ที่ร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ในแง่ของค่าใช้จ่ายและชีวิต อุบัติเหตุเกิดขึ้นเมื่อวิศวกรได้ทำการทดสอบการทำงานของระบบหล่อเย็น และระบบทำความเย็นฉุกเฉินของแกนปฏิกรณ์นิวเคลียร์ แต่การทดสอบระบบได้ล่าช้ากว่ากำหนดจนต้องทำการทดสอบโดยวิศวกรกะกลางคืน ได้เกิดแรงดันไอน้ำสูงขึ้นอย่างฉับพลัน แต่ระบบตัดการทำงานอัตโนมัติไม่ทำงาน ส่งผลให้เกิดความร้อนสูงขึ้นจนทำให้แกนปฏิกรณ์นิวเคลียร์หมายเลข 4 หลอมละลาย และเกิดระเบิดขึ้น ผลจากการระเบิดทำให้เกิดขี้เถ้าปนเปื้อนกัมมันตภาพรังสีพวยพุ่งขึ้นสู่บรรยากาศ ปกคลุมทางตะวันตกของสหภาพโซเวียต ยุโรปตะวันออก ยุโรปตะวันตก ยุโรปเหนือ ทางการยูเครน เบลารุส และรัสเซีย ต้องอพยพประชากรมากกว่า 336,431 คน ออกจากพื้นที่อย่างฉุกเฉิน อุบัติเหตุครั้งนี้เป็นหนึ่งในสองครั้งที่ได้รับการจัดความรุนแรงไว้ที่ระดับ 7 ซึ่งเป็นระดับสูงสุดตามมาตราระหว่างประเทศว่าด้วยเหตุการณ์ทางนิวเคลียร์ อีกครั้งหนึ่งเป็นของภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิในปี 2011 สงครามเพื่อต่อสู้กับการปนเปื้อนและป้องกันไม่ให้เกิดการสูญเสียมากไปกว่านี้เกี่ยวข้องกับคนงานทั้งทหารและพลเรือนกว่า 500,000 คนและค่าใช้จ่ายประมาณ 18 พันล้านรูเบิ้ลGorbachev, Mikhail (1996), interview in Johnson, Thomas,,, Discovery Channel, retrieved 19 February 2014.

ใหม่!!: ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิและภัยพิบัติเชียร์โนบีล · ดูเพิ่มเติม »

มาตราระหว่างประเทศว่าด้วยเหตุการณ์ทางนิวเคลียร์

มาตราระหว่างประเทศว่าด้วยเหตุการณ์ทางนิวเคลียร์ (INES) เริ่มใช้ในปี..

ใหม่!!: ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิและมาตราระหว่างประเทศว่าด้วยเหตุการณ์ทางนิวเคลียร์ · ดูเพิ่มเติม »

รอยเตอร์ส

อาคารสำนักงานใหญ่ที่กรุงลอนดอน สำนักข่าวรอยเตอร์ส (Reuters) คือผู้ให้บริการข้อมูลทางการเงินและรายงานข่าวต่างๆ ให้แก่สำนักข่าวต่างๆ ของโลก สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ โดยรอยเตอร์สได้รับรายได้ส่วนมาก (กว่าร้อยละ 90) จากการให้บริการข้อมูลทางการเงินต่างๆ เช่น ราคาหุ้นในตลาดต่างๆ อัตราแลกเปลี่ยน ราคาน้ำมัน รายงานการวิเคราะห์หลักทรัพย์ เป็นต้น และการให้บริการซื้อขายผ่านอินเทอร์เน็ตต่างๆ โดยปัจจุบันนี้รอยเตอร์สมีส่วนแบ่งการตลาดในด้านการบริการข้อมูลทางการเงินมากเป็นอันดับสอง ประมาณร้อยละ 23 รองจาก บลูมเบิร์ก (Bloomberg) ที่ควบคุมส่วนแบ่งการตลาดมากถึงร้อยละ 33 เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 2007 รอยเตอร์สได้รวมกิจการกับบริษัททอมสัน คอร์ปอเรชัน (Thomson Corporation) ผู้ให้บริการข้อมูลทางการเงินรายใหญ่จากแคนาดาที่มีส่วนแบ่งตลาดร้อยละ 11 โดยบริษัทใหม่ได้ใช้ชื่อว่า ทอมสัน รอยเตอร์ส (Thomson Reuters) และจะกลายเป็นผู้ให้บริการทางการเงินรายใหญ่ที่สุดของโลกด้วยส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ 34 แซงหน้าบลูมเบิร์กที่มีส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ 33.

ใหม่!!: ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิและรอยเตอร์ส · ดูเพิ่มเติม »

ลอสแอนเจลิสไทมส์

ลอสแอนเจลิสไทมส์ (Los Angeles Times) เป็นหนังสือพิมพ์รายวัน ตีพิมพ์ในลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิและลอสแอนเจลิสไทมส์ · ดูเพิ่มเติม »

สแครม

Experimental Breeder Reactor I) สแครม หรือ (SCRAM) เป็นการปิดระบบอย่างฉุกเฉินของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ คำนี้ยังถูกนำไปใช้ให้ครอบคลุมถึงการปิดระบบการทำงานที่ซับซ้อนอื่น ๆ เช่นฟาร์มเซิร์ฟเวอร์และแม้กระทั่งรถไฟจำลองขนาดใหญ่ ในการดำเนินงานของเครื่องปฏิกรณ์เชิงพาณิชย์ การปิดระบบฉุกเฉินนี้มักจะถูกเรียกว่าเป็น "สแครม" สำหรับเครื่องปฏิกรณ์แบบน้ำเดือด (BWR) และจะถูกเรียกว่าเป็น "เครื่องปฏิกรณ์ทริป" สำหรับเครื่องปฏิกรณ์แบบน้ำแรงดันสูง (PWR) ในหลายกรณี สแครมก็เป็นส่วนหนึ่งของขั้นตอนการปิดระบบตามปกติเช่นกัน คำว่า SCRAM นี้มักจะถูกอ้างว่าเป็นตัวย่อของ "safety control rod axe man" ซึ่งคาดว่าจะถูกกำหนดโดยนายเอนรีโก แฟร์ เมื่อเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์เครื่องแรกของโลกได้ถูกสร้างขึ้นภายใต้ผู้นั่งชมที่มหาวิทยาลัยชิคาโกที่เมืองสแต๊กซ์ฟิลด์ แต่นักประวัติศาสตร์ของ NRC นายทอม Wellock เรียกเรื่องของ axe man ว่าเป็น "พูดเล่นไร้สาระ" มันน่าจะเป็นคำย่อสำหรับ Safety Control Rods Actuator Mechanism หรือ กลไกเพื่อขับเคลื่อนแท่งควบคุมเพื่อความปลอดภัย คำว่า 'Scram' ยังเป็นคำสั่งด้วยวาจาเพื่อบอกบุคคลหรือสิ่งของบางอย่างให้ออกจากพื้นที่อย่างรวดเร็วและเร่งด่วนอีกด้ว.

ใหม่!!: ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิและสแครม · ดูเพิ่มเติม »

องค์การอนามัยโลก

องค์การอนามัยโลก (World Health Organization ตัวย่อ WHO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ซึ่งรับผิดชอบการประสานงานด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ ก่อตั้งเมื่อ 7 เมษายน..

ใหม่!!: ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิและองค์การอนามัยโลก · ดูเพิ่มเติม »

ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ

ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (International Atomic Energy Agency, ย่อ: IAEA) เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมุ่งส่งเสริมการใช้พลังงานนิวเคลียร์ในทางสันติ และห้ามการใช้สำหรับความมุ่งหมายทางทหารทั้งปวง ซึ่งรวมถึงอาวุธนิวเคลียร์ IAEA ตั้งขึ้นเป็นองค์การที่เป็นอิสระเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2500 แม้ทบวงการฯ จะสถาปนาขึ้นเป็นเอกเทศจากสหประชาชาติผ่านสนธิสัญญาระหว่างประเทศขององค์การเอง คือ บทกฎหมาย IAEA แต่ IAEA รายงานต่อทั้งสมัชชาใหญ่และคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ IAEA มีสำนักงานใหญ่ในกรุงเวียนนา IAEA มี "สำนักงานพิทักษ์ภูมิภาค" สองแห่งซึ่งตั้งอยู่ในโตรอนโต ประเทศแคนาดาและในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น IAEA ยังมีสำนักงานติดต่อประสานงานสองแห่งตั้งอยู่ในนครนิวยอร์ก สหรัฐ และในเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ นอกจากนี้ IAEA มีห้องปฏิบัติการสามแห่งตั้งอยู่ในกรุงเวียนนาและไชเบอร์ซดอร์ฟ ประเทศออสเตรียและในโมนาโก IAEA เป็นสมัชชาระหว่างรัฐบาลเพื่อความร่วมมือทางวิทยาศาสตร์และเทคนิคในการใช้เทคโนโลยีนิวเคียร์และพลังงานนิวเคลียร์อย่างสันติทั่วโลก โครงการของ IAEA สนับสนุนการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์ในทางสันติ การจัดหาการพิทักษ์ระหว่างประเทศต่อการใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์และวัสดุนิวเคลียร์ในทางที่ผิดและส่งเสริมความปลอดภัยนิวเคลียร์ (รวมการป้องกันรังสี) และมาตรฐานแความปลอดภัยนิวเคลียร์และการนำไปปฏิบัติ IAEA และอดีตผู้อำนวยการใหญ่ มุฮัมมัด อัลบะรอดะอี เคยได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพร่วมกันเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2548.

ใหม่!!: ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิและทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คลื่นสึนามิ

แสดงคลื่นสึนามิพัดขึ้นฝั่ง คลื่นสึนามิ เป็นกลุ่มคลื่นน้ำที่เกิดขึ้นจากการย้ายที่ของปริมาตรน้ำก้อนใหญ่ คือ มหาสมุทรหรือทะเลสาบขนาดใหญ่ แผ่นดินไหว การปะทุของภูเขาไฟและการระเบิดใต้น้ำอื่นๆ (รวมทั้งการจุดวัตถุระเบิดหรือวัตถุระเบิดนิวเคลียร์ใต้น้ำ) ดินถล่ม ธารน้ำแข็งไถล อุกกาบาตตกและการรบกวนอื่น ไม่ว่าเหนือหรือใต้น้ำ ล้วนอาจก่อให้เกิดเป็นคลื่นสึนามิได้ทั้งสิ้น คลื่นสึนามิไม่เหมือนกับคลื่นทะเล(tidal wave)ตามปกติ เพราะมีความยาวคลื่นยาวกว่ามาก แทนที่จะเป็นคลื่นหัวแตก (breaking wave) ตามปกติ คลื่นสึนามิเริ่มแรกอาจดูเหมือนกับว่าคลื่นน้ำเพิ่มระดับสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และด้วยเหตุนี้ คลื่นสึนามิจึงมักเรียกว่าเป็นคลื่นยักษ์ โดยทั่วไป คลื่นสึนามิประกอบด้วยกลุ่มคลื่นซึ่งมีคาบเป็นนาทีหรืออาจมากถึงชั่วโมง มากันเรียกว่าเป็น "คลื่นขบวน" (wave train) ความสูงของคลื่นหลายสิบเมตรนั้นอาจเกิดขึ้นได้จากเหตุการณ์ขนาดใหญ่ แม้ผลกระทบของคลื่นสึนามินั้นจะจำกัดอยู่แค่พื้นที่ชายฝั่ง แต่อำนาจทำลายล้างของมันสามารถมีได้ใหญ่หลวงและสามารถมีผลกระทบต่อทั้งแอ่งมหาสมุทร คลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 เป็นหนึ่งในภัยธรรมชาติครั้งที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ โดยมีผู้เสียชีวิตกว่า 230,000 คน ใน 14 ประเทศที่ติดกับมหาสมุทรอินเดีย ธูซิดดิดีส นักประวัติศาสตร์ชาวกรีก เสนอเมื่อ 426 ปีก่อนคริสตกาล ว่า คลื่นสึนามิเกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหวใต้ทะเลThucydides: แต่ความเข้าใจในธรรมชาติของคลื่นสึนามิยังมีเพียงเล็กน้อยกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 20 และยังมีอีกมากที่ยังไม่ทราบในปัจจุบัน ขณะที่แผ่นดินไหวที่รุนแรงน้อยกว่ามากกลับก่อให้เกิดคลื่น พยายามพยากรณ์เส้นทางของคลื่นสึนามิข้ามมหาสมุทรอย่างแม่นยำ และยังพยากรณ์ว่าคลื่นสึนามิจะมีปฏิสัมพันธ์กับชายฝั่งแห่งหนึ่ง ๆ อย่างไร.

ใหม่!!: ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิและคลื่นสึนามิ · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554

แผ่นดินไหวนอกชายฝั่งแปซิฟิกโทโฮะก..

ใหม่!!: ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิและแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

แท่งควบคุม

แท่งควบคุม (Control rod) มีการใช้ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เพื่อควบคุมอัตราการเกิดปฏิกริยาฟิชชันของยูเรเนียมและพลูโตเนียม มันประกอบด้วยองค์ประกอบทางเคมีเช่นโบรอน เงิน อินเดียมและแคดเมียมที่มีความสามารถในการดูดซับนิวตรอนจำนวนมากโดยไม่เกิดปฏิกริยาฟิชชันเสียเอง เพราะว่าองค์ประกอบเหล่านี้มีพื้นที่หน้าตัดในการดักจับนิวตรอนที่แตกต่างกันสำหรับพลังงานที่แตกต่างกัน องค์ประกอบของแท่งควบคุมจะต้องได้รับการออกแบบสำหรับคลื่นความถี่นิวตรอนของแต่ละเครื่องปฏิกรณ์ฯ เครื่องปฏิกรณ์แบบน้ำเดือด (BWR) เครื่องปฏิกรณ์น้ำแรงดันสูง (PWR) และเครื่องปฏิกรณ์น้ำมวลหนัก (HWR) ทำงานด้วยนิวตรอนความร้อน (thermal neutron) ในขณะที่เครื่องปฏิกรณ์แพร่พันธุ์ (breeder reactor) ทำงานด้วยนิวตรอนเร็ว (fast neutron).

ใหม่!!: ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิและแท่งควบคุม · ดูเพิ่มเติม »

โพแทสเซียมไอโอไดด์

โพแทสเซียมไอโอไดด์ (Potassium iodide หรือ KI) เป็นสารประกอบอนินทรีย์ ใช้ทดแทนโซเดียมไอโอไดด์เพราะดูดความชื้นน้อยกว่า ทำให้สามารถจัดการได้โดยสะดวก มีการผลิตเชิงการค้านับหมื่นตันในแต่ละปี สารนี้หากเก็บไว้นานแล้วจะเป็นสีเหลืองเนื่องจากปฏิกิริยาออกซิเดชันของไอโอไดด์กลายเป็นไอโอดีน หมวดหมู่:เฮไลด์โลหะ หมวดหมู่:ไอโอไดด์ หมวดหมู่:สารประกอบโพแทสเซียม หมวดหมู่:ยาหลักขององค์การอนามัยโลก หมวดหมู่:วัตถุเจือปนอาหาร.

ใหม่!!: ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิและโพแทสเซียมไอโอไดด์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ

รงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะแห่งที่หนึ่ง เป็นโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ซึ่งตั้งอยู่ในเมืองโอกุมะ เขตฟุตะบะ จังหวัดฟุกุชิมะ ประเทศญี่ปุ่น โดยมีเครื่องปฏิกรณ์สำหรับผลิตไฟฟ้าหกหน่วย รวมกำลัง 4.7 จิกะวัตต์ โรงไฟฟ้าแห่งนี้เป็นหนึ่งใน 15 โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขนาดใหญ่ที่สุดในโลก และเป็นโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งแรกซึ่งได้รับการก่อสร้างและบริหารจัดการทั้งหมดโดยบริษัทพลังงานไฟฟ้าโตเกียว (TEPCO) เมื่อเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิและโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็นเอชเค

มาคมแพร่ภาพกระจายเสียงแห่งประเทศญี่ปุ่น หรือ NHK เป็นองค์กรแพร่ภาพกระจายเสียงสาธารณะของของรัฐบาลญี่ปุ่น มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจที่อาศัยรายได้จากค่าธรรมเนียมใบอนุญาตรับชมโทรทัศน์จากผู้ชม เอ็นเอชเคมีบริการโทรทัศน์ภาคพื้นดินสองช่อง (ช่องทั่วไปและช่องเพื่อการศึกษา), โทรทัศน์ดาวเทียมอีกสองช่อง (ช่อง BS-1 และ BS Premium) และเครือข่ายวิทยุกระจายเสียงอีก 3 สถานีในญี่ปุ่น นอกจากนี้ เอ็นเอ็ชเคยังมีโทรทัศน์ช่องสากลที่มีชื่อว่า NHK World ประกอบด้วย บริการโทรทัศน์จำนวน 2 ช่องรายการ และบริการวิทยุคลื่นสั้น 1 สถานี นอกจากนี้ ยังมีเว็บไซต์เอ็นเอชเค ที่ให้บริการข้อมูลข่าวสาร และรายการต่างๆ ซึ่งเป็นอีกบริการหนึ่งเช่นกัน.

ใหม่!!: ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิและเอ็นเอชเค · ดูเพิ่มเติม »

เดอะการ์เดียน

อะการ์เดียน (The Guardian) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันฝ่ายซ้ายกึ่งสายกลางแห่งชาติอังกฤษ ก่อตั้งใน..

ใหม่!!: ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิและเดอะการ์เดียน · ดูเพิ่มเติม »

เนเจอร์ (วารสาร)

วารสาร''เนเจอร์''ฉบับแรก วันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1869 เนเจอร์ เป็นวารสารวิชาการทางวิทยาศาสตร์ ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิและเนเจอร์ (วารสาร) · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

อุบัติเหตุนิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »