โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์

ดัชนี ภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์

''ชาเลนเจอร์''ระเบิด คร่าชีวิตลูกเรือทั้งหมด 7 คน ไมเคิล เจ. สมิท, ดิก สโคบี, โรนัลด์ แมคแนร์; (แถวหลัง) เอลลิสัน โอนิซึกะ, คริสตา แมคออลิฟ, เกรกอรี จาร์วิส, จูดิธ เรสนิค ภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์เกิดเมื่อวันที่ 28 มกราคม..

10 ความสัมพันธ์: กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์มหาสมุทรแอตแลนติกรัฐฟลอริดาจูดิธ เรสนิคคริสตา แมคออลิฟนักบินอวกาศนาซาแหลมคะแนเวอรัลโรนัลด์ เรแกนเวลาสากลเชิงพิกัด

กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์

กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ (Shuttle Orbiter Challenger) รหัสประจำยานคือ OV-099 เป็นกระสวยอวกาศลำที่สองที่ใช้ปฏิบัติภารกิจในอวกาศขององค์การนาซ่า สร้างถัดจากกระสวยอวกาศโคลัมเบีย เริ่มปล่อยสู่อวกาศครั้งแรก(ภารกิจที่ STS-6) ในวันที่ 4 เมษายน..

ใหม่!!: ภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์และกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรแอตแลนติก

มหาสมุทรแอตแลนติก (Atlantic Ocean) เป็นมหาสมุทรที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 1 ใน 5 ของพื้นผิวโลก ชื่อของมหาสมุทรมาจากนิยายปรัมปรากรีก หมายถึง "ทะเลของแอตลาส" มหาสมุทรแอตแลนติกเป็นแอ่งที่มีรูปร่างเหมือนตัวเอส (S) ติดกับทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ทางตะวันตก ส่วนทางตะวันออกติดกับ ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา ปัจจุบันมีการแบ่งมหาสมุทรแอตแลนติกเป็น 2 ส่วน คือ แอตแลนติกเหนือและแอตแลนติกใต้ โดยใช้บริเวณที่เกิดการเปลี่ยนทิศของกระแสน้ำที่ละติจูด 8° เหนือเป็นแนวแบ่ง มหาสมุทรแอตแลนติกเชื่อมกับมหาสมุทรแปซิฟิกทางมหาสมุทรอาร์กติกซึ่งอยู่ทางเหนือ ส่วนทางใต้เชื่อมทางช่องแคบเดรก จุดเชื่อมต่ออีกแห่งหนึ่งที่สร้างขึ้นโดยมนุษย์ คือ คลองปานามา เส้นแบ่งระหว่างมหาสมุทรแอตแลนติกกับมหาสมุทรอินเดีย คือ เส้นเมริเดียน 20° ตะวันออก และแยกจากมหาสมุทรอาร์กติกด้วยเส้นที่ลากจากกรีนแลนด์ ผ่านตอนใต้สุดของสฟาลบาร์ (Svalbard) ไปยังตอนเหนือของนอร์เวย์ มหาสมุทรแอตแลนติกมีพื้นน้ำประมาณ 106,460,000 ตารางกิโลเมตร ปริมาตรของมหาสมุทรเมื่อรวมทะเลที่อยู่ติดกันมีค่า 310,410,900 ลูกบาศก์กิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ย 3,646 เมตร จุดที่ลึกที่สุดคือปวยร์โตรีโกเทรนช์มีความลึก 8,486 เมตร (27,840 ฟุต).

ใหม่!!: ภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์และมหาสมุทรแอตแลนติก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐฟลอริดา

รัฐฟลอริดา (Florida, เป็นรัฐที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ สหรัฐอเมริกา ทิศตะวันตกติดต่อกับอ่าวเม็กซิโก ทิศเหนือติดต่อกับรัฐอะลาบามา และรัฐจอร์เจีย ทิศตะวันออกติดต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศใต้ติดต่อกับช่องแคบฟลอริดา รัฐฟลอริดาเป็นรัฐที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 22 มีประชากรมากเป็นอันดับ 3 และหนาแน่นมากเป็นอันดับ 8 ในสหรัฐอเมริกา แจ็กสันวิลล์เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในรัฐฟลอริดา และมีพื้นที่มากที่สุดในสหรัฐอเมริกาแผ่นดินใหญ่ มีเขตเมืองไมแอมี (Miami metropolitan area) เป็นเขตเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับ 8 ในสหรัฐอเมริกา และมีแทลลาแฮสซีเป็นเมืองหลวงของรัฐ รัฐฟลอริดาเป็นที่รู้จักกันในนาม ซันไชน์สเตต (Sunshine State) คำว่า "ฟลอริดา" เป็นภาษาสเปนซึ่งหมายถึง "ที่ซึ่งอุดมไปด้วยดอกไม้" ชื่อของแหลมฟลอริดาตั้งชื่อโดยควน ปอนเซ เด เลออง (Juan Ponce de León) ซึ่งมาเทียบที่ชายฝั่งเมื่อ 2 เมษายน พ.ศ. 2056 (ค.ศ. 1513) ในช่วงเทศกาล "ปัสกวาโฟลรีดา" (Pascua Florida) หรือช่วงเทศกาลอีสเตอร์ของชาวสเปน วันปัสกวาโฟลรีดาจัดขึ้นในวันที่ 2 เมษายนของทุกปี และยังเป็นวันหยุดราชการด้วย ฟลอริดาเป็นหนึ่งในเจ็ดรัฐที่ไม่เก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรม.

ใหม่!!: ภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์และรัฐฟลอริดา · ดูเพิ่มเติม »

จูดิธ เรสนิค

ูดิธ อาร์ลีน เรสนิค (5 เมษายน ค.ศ. 1949 – 28 มกราคม ค.ศ. 1986) เธอเป็นวิศวกรและนักบินอวกาศของนาซา เรสนิคเป็นหนึ่งในผู้เสียชีวิตในเหตุภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์ในระหว่างการเปิดตัวภารกิจ STS-51-L เรสนิคเป็นนักบินอวกาศหญิงชาวอเมริกันคนที่สองในอวกาศ เรสนิคอยู่ในวงโคจร 145 ชั่วโมง เรสนิคเป็นนักบินอวกาศอเมริกันเชื้อสายยิวคนแรก และเป็นนักบินอวกาศหญิงชาวยิวคนแรกที่อยู่ในอวกาศ เรสนิคจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน และได้รับปริญญาดุษฏีบัณฑิตในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าจากมหาวิทยาลัยแมริแลนด์ คอลเลจพาร์ก รางวัล IEEE Judith Resnik Award สำหรับวิศวกรอวกาศได้นำชื่อของเธอเป็นชื่อรางวัลเพื่อเป็นเกียรติแก่เรสน.

ใหม่!!: ภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์และจูดิธ เรสนิค · ดูเพิ่มเติม »

คริสตา แมคออลิฟ

รอน คริสตา แมคออลิฟ (เกิด ชารอน คริสตา คอร์ริแกน; 2 กันยายน ค.ศ. 1948 – 28 มกราคม ค.ศ. 1986) เป็นคุณครูชาวอเมริกันจากคอนโคด, รัฐนิวแฮมป์เชียร์ แมคออลิฟเป็นสมาชิกหนึ่งในเจ็ดที่เสียชีวิตจากเหตุภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์ในระหว่างการเปิดตัวภารกิจ STS-51-L แมคออลิฟได้รับปริญญาตรีในสาขาครุศาสตร์ และประวัติศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยรัฐแฟรมมิงแฮมในปี ค.ศ. 1970 และได้ปริญญาโทด้านการดูแลการศึกษาและบริหาร จากมหาวิทยาลัยรัฐโบวี่ในปี ค.ศ. 1978 แมคออลิฟเข้ารับตำแหน่งคุณครูสังคมที่โรงเรียนมัธยมต้นคอนโคดในรัฐนิวแฮมป์เชียร์ ในปี ค.ศ. 1983 ในปี ค.ศ. 1985 แมคออลิฟได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมในโครงการ นาซา คุณครูในโครงการอวกาศ ซึ่งเธอได้รับคัดเลือกจากคนมากกว่า 11,000 คน ในฐานะที่แมคออลิฟได้เป็นหนึ่งในสมาชิกคนหนึ่งของภารกิจ STS-51-L แมคออลิฟได้วางแผนไว้ว่า เธอจะกลับลงมาเป็นครูครั้งที่สอง และจะสอนเรื่องเกี่ยวกับกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ เมื่อวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 1986 กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ได้เกิดระเบิดขึ้น หลังจากกระสวยอวกาศขึ้นได้เพียง 72 วินาที หลังจากที่เธอเสียชีวิต โรงเรียนและกองทุนศึกษาได้รับการตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่เธอ และในปี ค.ศ. 2004 แมคออลิฟได้รับรางวัล Medal of Honor Medal of Honorium.

ใหม่!!: ภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์และคริสตา แมคออลิฟ · ดูเพิ่มเติม »

นักบินอวกาศ

รูซ แมคแคนด์เลส 2 นักบินอวกาศชาวอเมริกัน ขณะทำงานอยู่นอกกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ เมื่อ พ.ศ. 2527 (ภาพจากองค์การนาซา) นักบินอวกาศ คือ บุคคลที่เดินทางไปกับยานอวกาศ ไม่ว่าจะไปในฐานะใด และไม่ว่าจะไปด้วยยานอวกาศแบบไหน ทั้งที่โคจรรอบโลก (ในระยะสูงจากพื้นราว 80-100 กิโลเมตรขึ้นไป) หรือที่เดินทางออกไปยังตำแหน่งอื่นใดนอกวงโคจรของโลก คำว่า นักบินอวกาศ ในภาษาไทย นั้น ตรงกับคำศัพท์ในภาษาอังกฤษ ว่าแอสโตรนอท (astronaut) ซึ่งมีความหมายอย่างที่กล่าวมา เป็นที่น่าสังเกตว่า คำว่า นักบินอวกาศ ไม่ได้มีความหมายเฉพาะผู้ที่เป็นนักบิน (pilot) เท่านั้น แต่มีความหมายอย่างที่อาจเข้าใจได้ง่ายๆ ว่า ลูกเรืออวกาศ นั่นเอง อย่างไรก็ตาม ในภาษาไทยยังมีคำศัพท์อีกคำ ที่มีความหมายเช่นนี้ นั่นคือ มนุษย์อวกาศ คำว่า แอสโตรนอท ในภาษาอังกฤษนั้น มีที่มาจากคำศัพท์ในภาษากรีก สองคำ คือ astro หมายถึงดวงดาว และ nautes ซึ่งหมายถึง กะลาสี ปัจจุบันมีนักบินอวกาศหลายชาติ จึงมีการสร้างคำสำหรับเรียกนักบินอวกาศของแต่ละชาติต่างๆ กัน เช่น นักบินในโครงการอวกาศของรัสเซีย เรียกว่า คอสโมนอท (cosmonaut) อันเป็นการสร้างคำจากคำศัพท์จากภาษากรีกเช่นกัน โดยใช้คำว่า kosmo ที่หมายถึง อวกาศ และคำว่า nautes ที่หมายถึง กะลาสี ส่วนในยุโรป มีการสร้างศัพท์ขึ้นใหม่ ว่า สเปชันนอท (spationaut) เป็นคำประสม ระหว่าง space ในภาษาละติน (อวกาศ) และ nautes ในภาษากรีก (กะลาสี) โดยมีความหมายว่านักบินอวกาศ หรือมนุษย์อวกาศ นั่นเอง นอกจากนี้ยังมีคำว่า ไทโคนอท (Taikonaut) เป็นคำศัพท์ที่คิดขึ้นใหม่ เมื่อ เดือนพฤษภาคม ปี..

ใหม่!!: ภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์และนักบินอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

นาซา

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (National Aeronautics and Space Administration) หรือ นาซา (NASA) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ตามรัฐบัญญัติการบินและอวกาศแห่งชาติ เป็นหน่วยงานส่วนราชการ รับผิดชอบในโครงการอวกาศและงานวิจัยห้วงอากาศอวกาศ (aerospace) ระยะยาวของสหรัฐอเมริกา คอยจัดการหรือควบคุมระบบงานวิจัยทั้งกับฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 องค์การนาซาได้ประกาศภารกิจหลักคือการบุกเบิกอนาคตแห่งการสำรวจอวกาศ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ และงานวิจัยทางการบินและอวกาศ คำขวัญขององค์การนาซาคือ "เพื่อประโยชน์ของคนทุกคน" (For the benefit of all).

ใหม่!!: ภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์และนาซา · ดูเพิ่มเติม »

แหลมคะแนเวอรัล

แหลมคะแนเวอรัลจากอวกาศ, สิงหาคม พ.ศ. 2534 แหลมคะแนเวอรัล (Cape Canaveral) เป็นแหลมที่อยู่ในรัฐฟลอริดา ประเทศสหรัฐอเมริกา ด้านชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก เป็นที่ตั้งของศูนย์อวกาศเคนเนดี และยานอวกาศส่วนใหญ่ของสหรัฐถูกส่งขึ้นจากฐานส่งจรวดที่นี่ ในช่วงปี พ.ศ. 2506 ถึง 2519 (ค.ศ. 1963-1976) แหลมคะแนเวอรัลถูกเรียกว่า แหลมเคนเนดี (Cape Kennedy) เพื่อเป็นเกียรติแก่ประธานาธิบดีจอห์น เอฟ. เคนเนดี ที่สนับสนุนด้านอวกาศของสหรัฐเป็นอย่างมาก โดยเมื่อประธานาธิบดีเคนเนดีเสียชีวิตจากการถูกลอบสังหารในปี..

ใหม่!!: ภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์และแหลมคะแนเวอรัล · ดูเพิ่มเติม »

โรนัลด์ เรแกน

รนัลด์ วิลสัน เรแกน (Ronald Wilson Reagan; 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2454 – 5 มิถุนายน พ.ศ. 2547) เป็นประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 40 (พ.ศ. 2524–2532) สังกัดพรรครีพับลิกัน นอกจากนี้เรแกนยังดำรงตำแหน่งผู้ว่าการรัฐแคลิฟอร์เนีย คนที่ 33 (พ.ศ. 2510-พ.ศ. 2518) ก่อนหน้านั้นเขาเคยเป็นผู้ประกาศข่าวและนักแสดงมาก่อน เรแกนเกิดในเมือง ตัมปีโก, รัฐอิลลินอยส์ เติบโตมาในดิกซัน แรแกนได้ศึกษาเข้าที่มหาวิทยาลัย Eureka โดยได้หารายได้จากศิลปศาสตรบัณฑิต ปริญญาในสาขาเศรษฐศาสตร์และสังคมวิทยา หลังจากสำเร็จการศึกษา เรแกนได้ย้ายไปยัง รัฐไอโอวา โดยทำหน้าที่เป็นผู้กระจายเสียงทางวิทยุ หลังจากในปี พ.ศ. 2480 เรแกนได้ไปยังเมือง ลอสแอนเจลิส เมื่อเรแกนเริ่มทำงานโดยการเป็นนักแสดง โดยเป็นครั้งแรกในภาพยนตร์และครั้งสุดท้ายในวิทยุ หนึ่งในภาพยนตร์ที่โดดเด่นที่สุดของเขามีดังนี้ Knute Rockne, All American (2483), Kings Row (2485), and Bedtime for Bonzo (2494) เรแกนทำหน้าที่เป็นประธานของสมาคมนักแสดงหน้าจอและต่อมาเป็นโฆษกสำหรับ General Electric (GE) จุดเริ่มต้นของแรแกนในทางการเมืองที่เกิดขึ้นในระหว่างการทำงานของเขาสำหรับจีอี แต่เดิมเขาเป็นสมาชิกของพรรคเดโมแครต (สหรัฐอเมริกา) แต่เนื่องจากฝ่ายขยับแพลตฟอร์มในระหว่างปี พ.ศ. 2493 เปลี่ยนไปอยู่ในพรรคริพับลิกัน (สหรัฐอเมริกา) ใน พ.ศ. 2505 หลังจากการส่งมอบคำพูดที่เร้าใจในการสนับสนุนของผู้สมัครประธานาธิบดี แบรี่ โกรวอทเธอร์ ในปี พ.ศ. 2507, เขาถูกชักชวนให้ไปหาผู้ว่าจ้างแคลิฟอเนีย, เขาชนะสองปีและอีกครั้งในปี พ.ศ. 2513 เขาก็พ่ายแพ้ในระยะของเขาสำหรับพรรคริพับลิกันเสนอชื่อเข้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดีในปี พ.ศ. 2511 และในปี พ.ศ. 2519.

ใหม่!!: ภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์และโรนัลด์ เรแกน · ดูเพิ่มเติม »

เวลาสากลเชิงพิกัด

แผนที่โลกแสดงเขตเวลาในปัจจุบัน เวลาสากลเชิงพิกัด (Coordinated Universal Time; ตัวย่อ: UTC) คือ หน่วยเวลาที่ใช้ในการอ้างอิงการหมุนของโลก โดยใช้เครื่องหมายบวก (+) หรือลบ (-) เทียบจากหน่วยเวลาสากลซึ่งเป็นระบบอ้างอิงจากเวลามาตรฐานกรีนิช (GMT) จุดอ้างอิงของเวลาสากลเชิงพิกัดคือที่ลองจิจูด ที่ 0° ที่ตัดผ่านหอดูดาวหลวงกรีนิชในกรีนิช ลอนดอน สหราชอาณาจักร (และเป็นสาเหตุหลักที่เวลามาตรฐานกรีนิชยังคงมีใช้อยู่ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: ภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์และเวลาสากลเชิงพิกัด · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

โศกนาฏกรรมกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »