เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ฟ้าแลบและอาการกลัวฟ้าคะนอง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ฟ้าแลบและอาการกลัวฟ้าคะนอง

ฟ้าแลบ vs. อาการกลัวฟ้าคะนอง

แสงของฟ้าแลบขณะเกิดฟ้าร้อง ฟ้าแลบ (Lightning) คือปรากฏการณ์ธรรมชาติซึ่งเกิดจากการเคลื่อนที่ของประจุอิเล็กตรอนภายในเมฆ หรือระหว่างเมฆกับเมฆ หรือเกิดขึ้นระหว่างเมฆกับพื้นดิน เป็นแสงที่เกิดวาบขึ้นในท้องฟ้าลักษณะเป็นเส้นหรือแผ่น เกิดขึ้นเนื่องจากอิเล็กตรอนจำนวนมากเคลื่อนที่ผ่านอากาศเป็นเหตุให้เกิดความร้อนสูงมากจนปรากฏเป็นแสงสว่างวาบขึ้น ฟ้าแลบและฟ้าร้องเกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน แต่เรามองเห็นฟ้าแลบก่อนได้ยินเสียงฟ้าร้อง เนื่องจากแสงมีความเร็วมากกว่าเสียง แสงมีอัตราเร็ว 300,000 กิโลเมตรต่อวินาที ส่วนเสียงมีอัตราเร็วประมาณ 1/3 กิโลเมตรต่อวินาทีเท่านั้น. ฟ้าสามารถกระตุ้นผู้ที่มีอาการกลัวฟ้าคะนอง อาการกลัวฟ้าคะนอง (Astraphobia, Brontophobia, Keraunophobia, หรือ Tonitrophobia) เป็นความกลัวอย่างผิดปกติต่อฟ้าร้องหรือฟ้าแลบ เป็นโรคกลัวชนิดหนึ่ง พบได้ปกติในสุนัข นอกจากนี้ยังมี ceraunophobia ซึ่งเป็นความกลัวเฉพาะฟ้าร้องแต่ไม่กลัวฟ้าแลบ อาการและการรักษาอาการกลัวฟ้าคะนองเหมือนกันกับโรคกลัวจำเพาะชนิดอื่น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฟ้าแลบและอาการกลัวฟ้าคะนอง

ฟ้าแลบและอาการกลัวฟ้าคะนอง มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฟ้าร้อง

ฟ้าร้อง

ต้นเหตุของฟ้าร้อง ฟ้าร้อง คือเสียงที่เกิดจากเหตุการณ์ฟ้าแลบ ซึ่งขึ้นกับลักษณะของฟ้าแลบและระยะห่างของผู้สังเกตด้วย โดยอาจเป็นเพียงเสียงแหลมบางเหมือนของแตก ไปจนถึงเสียงคำรามต่ำๆ ยาวๆ ทั้งนี้เนื่องจากฟ้าแลบทำให้ความดันและอุณหภูมิของอากาศเพิ่มขึ้นอย่างฉับพลัน ทำให้อากาศรอบๆ บริเวณนั้นเกิดการขยายตัวอย่างรวดเร็ว และทำให้เกิดคลื่นโซนิคซึ่งสร้างเสียงฟ้าร้องขึ้น.

ฟ้าร้องและฟ้าแลบ · ฟ้าร้องและอาการกลัวฟ้าคะนอง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ฟ้าแลบและอาการกลัวฟ้าคะนอง

ฟ้าแลบ มี 7 ความสัมพันธ์ขณะที่ อาการกลัวฟ้าคะนอง มี 4 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 9.09% = 1 / (7 + 4)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฟ้าแลบและอาการกลัวฟ้าคะนอง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: