โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฟูลเลอรีนและเมลาโนมา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ฟูลเลอรีนและเมลาโนมา

ฟูลเลอรีน vs. เมลาโนมา

ฟลูเรอรีน รูปทรงสามเหลี่ยมด้านเท่า ยี่สิบหน้า (icosahedron) C540 ฟูลเลอรีน (Fullerene) เป็นอัญรูปหนึ่งของคาร์บอนที่เพิ่งค้นพบ โดยตั้งชื่อตาม บักมินสเตอร์ ฟุลเลอร์ (Buckminster Fuller) ฟูลเลอรีนประกอบด้วยโมเลกุลของธาตุคาร์บอนทั้งหมด โดยมีรูปทรงเป็นทรงกลมกลวง ทรงรี หรือ ท่อ ฟูลเลอรีนทรงกลมนั้นบางครั้งก็เรียกว่า "บักกีบอล" (buckyballs) รูปC60 นั้นมักจะถูกเปรียบเทียบกับลูกฟุตบอลสีขาวดำ สำหรับฟูลเลอรีนทรงกระบอกนั้น เรียกว่า "บักกี้ทูบ" หรือ "คาร์บอนนาโนทูบ ฟูลเลอรีนนั้นมีโครงสร้างคล้ายกับแกรไฟต์ ซึ่งประกอบด้วยแผ่นวงแหวนหกเหลี่ยม แต่มีวงแหวนห้าเหลี่ยม (หรือบางครั้งก็เป็นวงแหวนเจ็ดเหลี่ยม) ซึ่งกั้นมิให้แผ่นวงแหวนนั้นกลายเป็นแผ่นเรี. มลาโนมา (melanoma) เป็นมะเร็งชนิดหนึ่งเกิดจากเซลล์เมลาโนซัยต์ ซึ่งเป็นเซลล์ที่พบมากในผิวหนัง แต่ก็สามารถพบได้ในตา หู ทางเดินอาหาร เยื่อหุ้มสมอง และเยื่อบุช่องปากและอวัยวะเพศได้ ถือเป็นมะเร็งผิวหนังที่ค่อนข้างพบน้อยคิดเป็นสัดส่วนประมาณ 4% ของมะเร็วผิวหนังทั้งหมด แต่เป็นสาเหตุการเสียชีวิตถึง 75 % ของมะเร็งผิวหนังทั้งหมด เซลล์เมลาโนซัยต์ในผิวหนังทำหน้าที่สร้างสารสีเมลานิน จนถึงปัจจุบัน วิธีการรักษาเมลาโนมาที่ได้ผลดี มีโอกาสหายขาดมากที่สุดยังคงเป็นการตัดเอาก้อนเนื้อออกตั้งแต่ระยะแรกที่เนื้องอกมีขนาดเล็ก มีผู้ป่วยเมลาโนมาได้รับการวินิจฉัยใหม่ในสหรัฐอเมริกาประมาณปีละ 60,000 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศชายและเป็นคอเคเซียนRies LAG, et al., eds.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฟูลเลอรีนและเมลาโนมา

ฟูลเลอรีนและเมลาโนมา มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ฟูลเลอรีนและเมลาโนมา

ฟูลเลอรีน มี 12 ความสัมพันธ์ขณะที่ เมลาโนมา มี 3 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (12 + 3)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฟูลเลอรีนและเมลาโนมา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »