เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ฟุตบอลทีมชาติเวียดนามและสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ฟุตบอลทีมชาติเวียดนามและสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน

ฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม vs. สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน

ฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศเวียดนาม ควบคุมโดยสหพันธ์ฟุตบอลเวียดนาม ในปัจจุบัน ทีมชาติเวียดนามยังไม่มีผลงานระดับโลก หรือระดับเอเชีย เท่าไรนัก โดยผลงานที่ดีที่สุดในระดับอาเซียน คือรองชนะเลิศในไทเกอร์คัพ(ถือว่ากาก) ภายหลังจากเวียดนามแบ่งประเทศเป็น เวียดนามเหนือและเวียดนามใต้ ได้มีทีมชาติเกิดขึ้นสองทีม ในขณะที่ฟุตบอลทีมชาติเวียดนามเหนือไม่ค่อยมีผลงานในทางฟุตบอลเท่าไร โดยเล่นกับทีมอื่นในชาติคอมมิวนิสต์ ในระหว่างปี พ.ศ. 2499-พ.ศ. 2509 แต่เวียดนามใต้ ได้ร่วมเล่นในเอเชียนคัพและได้อันดับ 4 สองครั้ง และในปี พ.ศ. 2534 ทีมชาติเวียดนามได้ตั้งขึ้นภายหลังจากที่สองประเทศได้รวมกัน โดยรวมทีมเวียดนามใต้เข้าม. หพันธ์ฟุตบอลอาเซียน (ASEAN Football Federation) หรือ เอเอฟเอฟ (AFF) เป็นองค์กรย่อยของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย สำหรับจัดการแข่งขันฟุตบอลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเอฟเอฟก่อตั้งในปี พ.ศ. 2537 โดยมี 10 ประเทศสมาชิกอาเซียนในปัจจุบันเป็นสมาชิกก่อตั้ง และในปี พ.ศ. 2539 ได้มีการจัดการแข่งขัน ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน และ พ.ศ. 2545 มีการจัดการแข่งขัน อาเซียนคลับแชมเปียนชิพ และ พ.ศ. 2559 จัดการแข่งขัน อาเซียนซูเปอร์ลีก ปัจจุบันเอเอฟเอฟได้มีสมาชิกใหม่คือติมอร์-เลสเต เพิ่มเข้ามาในปี พ.ศ. 2547 และออสเตรเลีย ที่เข้าร่วมการแข่งขันตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 และได้เป็นสมาชิกอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2556.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฟุตบอลทีมชาติเวียดนามและสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน

ฟุตบอลทีมชาติเวียดนามและสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน มี 8 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนฟุตบอลทีมชาติพม่าฟุตบอลทีมชาติมาเลเซียฟุตบอลทีมชาติสิงคโปร์สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประเทศมาเลเซียเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน (ASEAN Football Championship - ชื่อเดิม ไทเกอร์คัพ) หรือ เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ (AFF Suzuki Cup) หรือเรียกย่อกันว่า อาเซียนคัพ เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศในเขตอาเซียน จัดขึ้นทุก ๆ 2 ปี จัดโดย สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน หรือ เอเอฟเอฟ (ASEAN Football Federation - AFF) จัดการแข่งขันครั้งแรกในปี พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) ภายใต้ชื่อไทเกอร์คัพ เนื่องจากมีผู้สนับสนุนหลักคือเบียร์ไทเกอร์ เบียร์จากสิงคโปร์ ภายหลังเมื่อเบียร์ไทเกอร์ได้ยกเลิกการสนับสนุน จึงเปลี่ยนชื่อจากไทเกอร์คัพเป็นอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ แต่เปลี่ยนชื่อได้แค่ปีเดียวก็มีซูซูกิเข้ามาเป็นผู้สนับสนุนใหม่ จึงเปลี่ยนชื่อเป็น เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ สืบมาจนถึงปัจจุบัน.

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม · ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนและสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติพม่า

ฟุตบอลทีมชาติพม่า (Myanmar national football team; พม่า: မြန်မာ အမျိုးသား ဘောလုံးအသင်း) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศพม่า อยู่ภายใต้การควบคุมของ สหพันธ์ฟุตบอลพม่า ทีมชาติพม่ายังไม่มีผลงานในระดับโลก แต่ในระดับเอเชีย เคยได้รองชนะเลิศในการแข่งขัน เอเชียนคัพ สำหรับในระดับอาเซียน อับดับสูงสุดคือได้เข้ารอบรองชนะเลิศใน ไทเกอร์คัพ ซึ่งในเอเชียนคัพของเขตอาเซียน ทีมชาติพม่าถือได้ว่ามีสถิติสูงสุด โดยได้อันดับรองชนะเลิศ ใน เอเชียนคัพ 1968 ในช่วงทศวรรษที่ 60-70 พม่าถือว่าเป็นทีมฟุตบอลระดับแถวหน้าของอาเซียนและทีมหนึ่งในระดับเอเชีย โดยได้แชมป์เซียปเกมส์ (กีฬาแหลมทอง) ถึง 5 สมัย แชมป์เอเชียนเกมส์ถึง 2 สมัย อีกทั้งยังเคยเข้ารอบสุดท้ายฟุตบอลในกีฬาโอลิมปิก 1972 ที่นครมิวนิค ประเทศเยอรมนีตะวันตก แต่หลังจากปี..

ฟุตบอลทีมชาติพม่าและฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม · ฟุตบอลทีมชาติพม่าและสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติมาเลเซีย

ฟุตบอลทีมชาติมาเลเซีย เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศมาเลเซียภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลมาเลเซีย ผลงานในระดับโลกของทีมชาติมาเลเซียนั้น ยังไม่เคยได้เข้าร่วมในฟุตบอลโลก แต่ทีมชาติมาเลเซียได้เข้าร่วมโอลิมปิก ที่มิวนิก ใน โอลิมปิก 1972 ส่วนในระดับเอเชียนั้น ทีมชาติมาเลเซียได้ร่วมเล่นในเอเชียนคัพโดยอันดับสูงสุดคือรอบแรกของการแข่งเอเชียนคัพ และในระดับอาเซียน ทีมชาติมาเลเซีย ได้อันดับสูงสุดคือรองชนะเลิศ ไทเกอร์คัพ สำหรับฉายาของทีมชาติมาเลเซีย สื่อมวลชนในประเทศไทยนิยมเรียกกันว่า "เสือเหลือง" และมีฉายาของกองเชียร์ว่า "Ultras Malaya" (อุลตร้าส์มาลายา).

ฟุตบอลทีมชาติมาเลเซียและฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม · ฟุตบอลทีมชาติมาเลเซียและสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติสิงคโปร์

ฟุตบอลทีมชาติสิงคโปร์ เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศสิงคโปร์ ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลสิงคโปร์ ทีมชาติสิงคโปร์นั้นยังไม่มีผลงานในฟุตบอลโลกหรือในระดับเอเชีย แต่ในระดับอาเซียนนั้นทีมชาติสิงคโปร์เป็นทีมหนึ่งที่ประสบความสำเร็จ โดยชนะการแข่งขันไทเกอร์คัพ 2 ครั้ง ในปี 2541 และ 2548.

ฟุตบอลทีมชาติสิงคโปร์และฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม · ฟุตบอลทีมชาติสิงคโปร์และสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน · ดูเพิ่มเติม »

สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย

มาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (Asian Football Confederation) หรือ เอเอฟซี (AFC) เป็นองค์กรที่ควบคุมการแข่งขันฟุตบอลในทวีปเอเชีย จัดการเกี่ยวกับทีมฟุตบอล เงินรางวัล กฎระเบียบ รวมถึงลิขสิทธิ์ในการถ่ายทอดฟุตบอล เอเอฟซีเป็น 1 ใน 6 สมาคมที่จัดการแข่งขันฟุตบอลทั่วโลกของฟีฟ่า เอเอฟซีก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2497 ที่ มะนิลา ในประเทศฟิลิปปินส์ ปัจจุบันสำนักงานใหญ่ย้ายมาอยู่ที่ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซี.

ฟุตบอลทีมชาติเวียดนามและสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย · สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียและสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ทำเนียบเลขาธิการอาเซียน ที่ประเทศอินโดนีเซีย สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) เป็นองค์การทางภูมิรัฐศาสตร์และเศรษฐกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ไทย บรูไน พม่า ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย อาเซียนมีพื้นที่ราว 4,479,210 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 625 ล้านคน ในปี..

ฟุตบอลทีมชาติเวียดนามและสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาเลเซีย

มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..

ประเทศมาเลเซียและฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม · ประเทศมาเลเซียและสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ฟุตบอลทีมชาติเวียดนามและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียนและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ฟุตบอลทีมชาติเวียดนามและสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน

ฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม มี 47 ความสัมพันธ์ขณะที่ สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน มี 36 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 8, ดัชนี Jaccard คือ 9.64% = 8 / (47 + 36)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฟุตบอลทีมชาติเวียดนามและสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: