เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ฟุตบอลทีมชาติบาห์เรนและฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ฟุตบอลทีมชาติบาห์เรนและฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย

ฟุตบอลทีมชาติบาห์เรน vs. ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย

ฟุตบอลทีมชาติบาห์เรน (อาหรับ: منتخب البحرين لكرة القدم) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจาก ราชอาณาจักรบาห์เรน อยู่ภายใต้การควบคุมของ สมาคมฟุตบอลบาห์เรน ทีมชาติบาห์เรนก่อตั้งในปี พ.ศ. 2494 และเข้าร่วมฟีฟ่าในปี 2509 ทีมบาห์เรนยังไม่เคยเข้าร่วมฟุตบอลโลก แต่ในระดับเอเชียแล้ว ทีมชาติบาห์เรนได้อันดับ 4 ใน เอเชียนคัพ 2004 และในปีนั้นทีมบาห์เรนได้รับรางวัลทีมที่มีการพัฒนามากที่สุดจากฟีฟ่า ในปี 2547. ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศอินโดนีเซีย ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลอินโดนีเซีย ทีมชาติอินโดนีเซียเป็นทีมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพียงไม่กี่ทีมที่เคยร่วมเล่นฟุตบอลโลก โดยเล่นในฟุตบอลโลก 1938 และยังไม่มีผลงานที่โดดเด่นในระดับเอเชีย ส่วนในระดับอาเซียน ทีมอินโดนีเซียได้อันดับรองชนะเลิศไทเกอร์คัพ 3 ครั้ง ในช่วงแรกทีมชาติอินโดนีเซียได้ร่วมเล่นในฟุตบอลโลกในตัวแทนของ ดัตช์อีสต์อินดีส์ (จักรวรรดิดัตช์ตะวันออก) ซึ่งเป็นชื่อของอินโดนีเซียในช่วงที่เป็นเมืองขึ้นของประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยทีมนี้เป็นทีมในทวีปเอเชียทีมแรกที่ได้ร่วมเล่นฟุตบอลโลก โดยเข้าเล่นในฟุตบอลโลก 1938 ที่ฝรั่งเศสเป็นเจ้.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฟุตบอลทีมชาติบาห์เรนและฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย

ฟุตบอลทีมชาติบาห์เรนและฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย มี 7 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฟุตบอลฟุตบอลโลกพ.ศ. 2494สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียทวีปเอเชียประเทศบาห์เรนเอเชียนคัพ

ฟุตบอล

ฟุตบอล หรือ ซอกเกอร์ เป็นกีฬาประเภททีมที่เล่นระหว่างสองทีมโดยแต่ละทีมมีผู้เล่น11คน โดยใช้ลูกบอล เป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายว่าเป็นกีฬาที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในโลก โดยจะเล่นในสนามหญ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า หรือ สนามหญ้าเทียม โดยมีประตูอยู่กึ่งกลางที่ปลายสนามทั้งสองฝั่ง เป้าหมายคือทำคะแนนโดยพาลูกฟุตบอลให้เข้าไปยังประตูของฝ่ายตรงข้าม ในการเล่นทั่วไปผู้รักษาประตูจะเป็นผู้เล่นเพียงคนเดียวที่สามารถใช้มือหรือแขนกับลูกฟุตบอลได้ ส่วนผู้เล่นอื่นๆจะใช้เท้าในการเตะลูกฟุตบอลไปยังตำแหน่งที่ต้องการ บางครั้งอาจใช้ลำตัว หรือ ศีรษะ เพื่อสกัดลูกฟุตบอลที่ลอยอยู่กลางอากาศ โดยทีมที่พาลูกฟุตบอลเข้าประตูฝ่ายตรงข้ามได้มากกว่าจะเป็นผู้ชนะ ถ้าคะแนนเท่ากันให้ถือว่าเสมอ แต่ในบางเกมที่เสมอกันในช่วงเวลาปกติแล้วต้องการหาผู้ชนะจึงต้องมีการต่อเวลาพิเศษ และ/หรือยิงลูกโทษขึ้นอยู่กับกฎระเบียบของรายการแข่งขันนั้นๆ โดยกฎกติกาการเล่นสมัยใหม่จะถูกรวบรวมขึ้นในประเทศอังกฤษ โดย สมาคมฟุตบอลอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2406 ได้กำเนิดกติกาฟุตบอลขึ้นเพื่อเป็นแนวทางกติกาการเล่นในปัจจุบัน ฟุตบอลในระดับนานาชาติจะถูกวางระเบียบโดยฟีฟ่า ซึ่งรายการแข่งขันที่มีเกียรติสูงสุดในระดับนานาชาติคือการแข่งขันฟุตบอลโลกซึ่งจะจัดขึ้นทุกๆ 4 ปี.

ฟุตบอลและฟุตบอลทีมชาติบาห์เรน · ฟุตบอลและฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก

ฟุตบอลโลก หรือ ฟุตบอลโลกฟีฟ่า (FIFA World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศโดยมีชุดทีมชาติชายร่วมเข้าแข่งในกลุ่มสมาชิกสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ (ฟีฟ่า) การแข่งขันจัดขึ้นทุก ๆ 4 ปี เริ่มครั้งแรกในปี ค.ศ. 1930 ใน ฟุตบอลโลก 1930 ยกเว้นในปี..

ฟุตบอลทีมชาติบาห์เรนและฟุตบอลโลก · ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซียและฟุตบอลโลก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

พ.ศ. 2494และฟุตบอลทีมชาติบาห์เรน · พ.ศ. 2494และฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย

มาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (Asian Football Confederation) หรือ เอเอฟซี (AFC) เป็นองค์กรที่ควบคุมการแข่งขันฟุตบอลในทวีปเอเชีย จัดการเกี่ยวกับทีมฟุตบอล เงินรางวัล กฎระเบียบ รวมถึงลิขสิทธิ์ในการถ่ายทอดฟุตบอล เอเอฟซีเป็น 1 ใน 6 สมาคมที่จัดการแข่งขันฟุตบอลทั่วโลกของฟีฟ่า เอเอฟซีก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2497 ที่ มะนิลา ในประเทศฟิลิปปินส์ ปัจจุบันสำนักงานใหญ่ย้ายมาอยู่ที่ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซี.

ฟุตบอลทีมชาติบาห์เรนและสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย · ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซียและสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปเอเชีย

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68–69); "Asia" (pp. 90–91): "A commonly accepted division between Asia and Europe is formed by the Ural Mountains, Ural River, Caspian Sea, Caucasus Mountains, and the Black Sea with its outlets, the Bosporus and Dardanelles." จีนและอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลกตั้งแต่คริสต์ศักราชที่ 1 ถึง 1800 จีนเป็นประเทศที่มีอำนาจทางเศรษฐกิจที่สำคัญและดึงดูดผู้คนจำนวนมากให้ไปทางตะวันออก และตำนาน ความมั่งคั่งและความรุ่งเรืองของวัฒนธรรมโบราณของอินเดียกลายเป็นสัญลักษณ์ของเอเชีย สิ่งเหล่านี้จึงดึงดูดการค้า การสำรวจและการล่าอาณานิคมของชาวยุโรป การค้นพบเส้นทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกโดยบังเอิญจากยุโรปไปอเมริกาของโคลัมบัสในขณะที่กำลังค้นหาเส้นทางไปยังอินเดียแสดงให้เห็นความดึงดูดใจเหล่านี้ เส้นทางสายไหมกลายเป็นเส้นทางการค้าหลักของฝั่งตะวันออกกับฝั่งตะวันตกในขณะที่ช่องแคบมะละกากลายเป็นเส้นทางเดินเรือที่สำคัญ ช่วงศตวรรษที่ 20 ความแข็งแรงของประชากรเอเชียและเศรษฐกิจ (โดยเฉพาะเอเชียตะวันออก) เติบโตเป็นอย่างมากแต่การเติบโตของประชากรโดยรวมลดลงเรื่อย ๆ เอเชียเป็นแหล่งกำเนิดของศาสนาหลักบนโลกหลายศาสนา อาทิศาสนาคริสต์, ศาสนาอิสลาม, ศาสนายูดาห์, ศาสนาฮินดู, ศาสนาพุทธ, ลัทธิขงจื๊อ, ลัทธิเต๋า, ศาสนาเชน, ศาสนาซิกข์, ศาสนาโซโรอัสเตอร์และศาสนาอื่น ๆ อีกมากมาย เนื่องเอเชียจากมีขนาดใหญ่และมีความหลากหลายทางแนวคิด ภูมินามวิทยาของเอเชียมีตั้งแต่สมัยคลาสสิกซึ่งคาดว่าน่าจะตั้งตามลักษณะผู้คนมากกว่าลักษณะทางกายภาพ เอเชียมีความแตกต่างกันอย่างมากทั้งด้านภูมิภาค กลุ่มชาติพันธุ์ วัฒนธรรม, สภาพแวดล้อม, เศรษฐศาสตร์, ประวัติศาสตร์และระบบรัฐบาล นอกจากนี้ยังมีสภาพอากาศที่แตกต่างกันอย่างมากเช่น พื้นเขตร้อนหรือทะเลทรายในตะวันออกกลาง, ภูมิอากาศแบบอบอุ่นทางตะวันออก ภูมิอากาศแบบกึ่งอารกติกทางตอนกลางของทวีปและภูมิอากาศแบบขั่วโลกในไซบีเรี.

ทวีปเอเชียและฟุตบอลทีมชาติบาห์เรน · ทวีปเอเชียและฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบาห์เรน

ห์เรน (Bahrain; البحرين) หรือชื่อทางการ ราชอาณาจักรบาห์เรน (Kingdom of Bahrain; مملكة البحرين) เป็นประเทศเกาะในอ่าวเปอร์เซีย โดยมีสะพานเชื่อมต่อกับซาอุดีอาระเบียที่อยู่ห่างจากเกาะประมาณ 28 กิโลเมตร คือ สะพานคิงฟะฮัด ซึ่งเปิดใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค..1986 ส่วนสะพานมิตรภาพกาตาร์-บาห์เรน ที่กำลังอยู่ในระหว่างวางแผนงานนั้น จะเชื่อมต่อบาห์เรนเข้ากับกาตาร์ ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ และจะเป็นสะพานขึงที่ยาวที่สุดในโลก.

ประเทศบาห์เรนและฟุตบอลทีมชาติบาห์เรน · ประเทศบาห์เรนและฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนคัพ

อเชียนคัพ (AFC Asian Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลในทวีปเอเชีย จัดโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย ซึ่งผู้ชนะการแข่งขันจะได้รับตำแหน่งแชมป์เปียนของเอเชียนคัพ การจัดการแข่งขันจัดขึ้นทุก 4 ปี โดยเริ่มจัดครั้งแรกเมื่อ ปี พ.ศ. 2499 (ค.ศ. 1956) และจัดต่อเนื่องทุก 4 ปี จนกระทั่งในปี..

ฟุตบอลทีมชาติบาห์เรนและเอเชียนคัพ · ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซียและเอเชียนคัพ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ฟุตบอลทีมชาติบาห์เรนและฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย

ฟุตบอลทีมชาติบาห์เรน มี 14 ความสัมพันธ์ขณะที่ ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย มี 41 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 7, ดัชนี Jaccard คือ 12.73% = 7 / (14 + 41)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฟุตบอลทีมชาติบาห์เรนและฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: