โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและฟุตบอลทีมชาติไทย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและฟุตบอลทีมชาติไทย

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชา vs. ฟุตบอลทีมชาติไทย

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชา เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจาก ราชอาณาจักรกัมพูชา อยู่ภายใต้การควบคุมของ สหพันธ์ฟุตบอลกัมพูชา มีผลงานเป็นอันดับ 4 ในเอเชียนคัพ 1972 แต่ปัจจุบันเป็นหนึ่งในทีมที่เก่งน้อยที่สุดในโลก และไม่ได้เข้าร่วมรอบคัดเลือกของฟุตบอลโลก 2006 ทีมก่อตั้งเมื่อพ.ศ. 2476 และเข้าร่วมฟีฟ่าเมื่อพ.ศ. 2496. ฟุตบอลทีมชาติไทย เป็นตัวแทนของประเทศไทยในการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศ และอยู่ภายใต้การบริหารของสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยทีมมีประวัติของความสำเร็จในการแข่งขันในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือชนะเลิศอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 5 สมัย และชนะเลิศซีเกมส์ 10 สมัย โดยทีมชาติไทยยังสามารถคว้าอันดับ 3 ในเอเชียนคัพ 1972 และเข้าร่วมการแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 2 ครั้ง และในเอเชียนเกมส์ 4 ครั้ง โดยอันดับโลกฟีฟ่าที่ทีมชาติไทยทำอันดับได้ดีที่สุด คือ อันดับที่ 42 ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2541 ปัจจุบันทีมชาติไทยอยู่อันดับที่ 122 ของโลก อันดับที่ 23 ของเอเชีย และอยู่ในอันดับที่ 3 ของอาเซียน จากการจัดอันดับโดยฟีฟ่า (12 เมษายน พ.ศ. 2561).

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและฟุตบอลทีมชาติไทย

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและฟุตบอลทีมชาติไทย มี 22 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฟุตบอลฟุตบอลทีมชาติมาเลเซียฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซียฟุตบอลทีมชาติเยเมนฟุตบอลโลก 1930ฟุตบอลโลก 1994ฟุตบอลโลก 1998ฟุตบอลโลก 2002ฟุตบอลโลก 2006สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียนอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007ทวีปเอเชียประเทศไทยไทเกอร์คัพ 1996ไทเกอร์คัพ 1998ไทเกอร์คัพ 2000ไทเกอร์คัพ 2004เอเชียนคัพเอเชียนคัพ 1972เอเชียนคัพ 2007

ฟุตบอล

ฟุตบอล หรือ ซอกเกอร์ เป็นกีฬาประเภททีมที่เล่นระหว่างสองทีมโดยแต่ละทีมมีผู้เล่น11คน โดยใช้ลูกบอล เป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายว่าเป็นกีฬาที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในโลก โดยจะเล่นในสนามหญ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า หรือ สนามหญ้าเทียม โดยมีประตูอยู่กึ่งกลางที่ปลายสนามทั้งสองฝั่ง เป้าหมายคือทำคะแนนโดยพาลูกฟุตบอลให้เข้าไปยังประตูของฝ่ายตรงข้าม ในการเล่นทั่วไปผู้รักษาประตูจะเป็นผู้เล่นเพียงคนเดียวที่สามารถใช้มือหรือแขนกับลูกฟุตบอลได้ ส่วนผู้เล่นอื่นๆจะใช้เท้าในการเตะลูกฟุตบอลไปยังตำแหน่งที่ต้องการ บางครั้งอาจใช้ลำตัว หรือ ศีรษะ เพื่อสกัดลูกฟุตบอลที่ลอยอยู่กลางอากาศ โดยทีมที่พาลูกฟุตบอลเข้าประตูฝ่ายตรงข้ามได้มากกว่าจะเป็นผู้ชนะ ถ้าคะแนนเท่ากันให้ถือว่าเสมอ แต่ในบางเกมที่เสมอกันในช่วงเวลาปกติแล้วต้องการหาผู้ชนะจึงต้องมีการต่อเวลาพิเศษ และ/หรือยิงลูกโทษขึ้นอยู่กับกฎระเบียบของรายการแข่งขันนั้นๆ โดยกฎกติกาการเล่นสมัยใหม่จะถูกรวบรวมขึ้นในประเทศอังกฤษ โดย สมาคมฟุตบอลอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2406 ได้กำเนิดกติกาฟุตบอลขึ้นเพื่อเป็นแนวทางกติกาการเล่นในปัจจุบัน ฟุตบอลในระดับนานาชาติจะถูกวางระเบียบโดยฟีฟ่า ซึ่งรายการแข่งขันที่มีเกียรติสูงสุดในระดับนานาชาติคือการแข่งขันฟุตบอลโลกซึ่งจะจัดขึ้นทุกๆ 4 ปี.

ฟุตบอลและฟุตบอลทีมชาติกัมพูชา · ฟุตบอลและฟุตบอลทีมชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติมาเลเซีย

ฟุตบอลทีมชาติมาเลเซีย เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศมาเลเซียภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลมาเลเซีย ผลงานในระดับโลกของทีมชาติมาเลเซียนั้น ยังไม่เคยได้เข้าร่วมในฟุตบอลโลก แต่ทีมชาติมาเลเซียได้เข้าร่วมโอลิมปิก ที่มิวนิก ใน โอลิมปิก 1972 ส่วนในระดับเอเชียนั้น ทีมชาติมาเลเซียได้ร่วมเล่นในเอเชียนคัพโดยอันดับสูงสุดคือรอบแรกของการแข่งเอเชียนคัพ และในระดับอาเซียน ทีมชาติมาเลเซีย ได้อันดับสูงสุดคือรองชนะเลิศ ไทเกอร์คัพ สำหรับฉายาของทีมชาติมาเลเซีย สื่อมวลชนในประเทศไทยนิยมเรียกกันว่า "เสือเหลือง" และมีฉายาของกองเชียร์ว่า "Ultras Malaya" (อุลตร้าส์มาลายา).

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและฟุตบอลทีมชาติมาเลเซีย · ฟุตบอลทีมชาติมาเลเซียและฟุตบอลทีมชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย

ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศอินโดนีเซีย ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลอินโดนีเซีย ทีมชาติอินโดนีเซียเป็นทีมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพียงไม่กี่ทีมที่เคยร่วมเล่นฟุตบอลโลก โดยเล่นในฟุตบอลโลก 1938 และยังไม่มีผลงานที่โดดเด่นในระดับเอเชีย ส่วนในระดับอาเซียน ทีมอินโดนีเซียได้อันดับรองชนะเลิศไทเกอร์คัพ 3 ครั้ง ในช่วงแรกทีมชาติอินโดนีเซียได้ร่วมเล่นในฟุตบอลโลกในตัวแทนของ ดัตช์อีสต์อินดีส์ (จักรวรรดิดัตช์ตะวันออก) ซึ่งเป็นชื่อของอินโดนีเซียในช่วงที่เป็นเมืองขึ้นของประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยทีมนี้เป็นทีมในทวีปเอเชียทีมแรกที่ได้ร่วมเล่นฟุตบอลโลก โดยเข้าเล่นในฟุตบอลโลก 1938 ที่ฝรั่งเศสเป็นเจ้.

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย · ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซียและฟุตบอลทีมชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเยเมน

ฟุตบอลทีมชาติเยเมน เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศเยเมน ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลเยเมน ในอดีตช่วงที่ประเทศเยเมนแบ่งออกเป็นเยเมนเหนือและเยเมนใต้นั้น ได้มีทีมชาติเกิดขึ้นมาสองทีม และภายหลังจากการรวมประเทศในปี พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) ทีมชาติเยเมนเหนือได้เปลี่ยนมาเป็นทีมชาติเยเมน โดยถือได้ว่าสืบต่อทีมมา (เช่นเดียวกับทีมชาติเยอรมนีที่ถือว่าต่อจากเยอรมนีตะวันตก ภายหลังจากการรวมประเทศ) ทีมชาติเยเมนนั้นยังไม่มีผลงานร่วมเล่นในฟุตบอลโลกหรือเอเชียนคัพ ในขณะที่ทีมชาติเยเมนใต้เคยร่วมเล่นเอเชียนคัพ 1976.

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและฟุตบอลทีมชาติเยเมน · ฟุตบอลทีมชาติเยเมนและฟุตบอลทีมชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 1930

ฟุตบอลโลก 1930 เป็นฟุตบอลโลกครั้งแรก จัดขึ้นที่ประเทศอุรุกวัย ในปี พ.ศ. 2473 โดย ทีมชาติอุรุกวัย ชนะอาร์เจนตินา 4 -2 การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งนี้เป็นการแข่งขันครั้งโดยไม่มีการคัดเลือกทีมเข้าเล่น ประเทศที่เข้าร่วมเป็นประเทศที่ได้รับเชิญและเป็นส่วนหนึ่งของฟีฟ่า ในขณะนั้น ในขณะเดียวกันเนื่องจากค่าใช้จ่ายในการเดินทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก มีค่าสูง ทำให้หลายประเทศในทวีปยุโรปไม่ได้เข้าร่วมฟุตบอลโลกในครั้งนี้ ทำให้ประธานของฟีฟ่า ชูลส์ รีเมต์ ร่วมกับรัฐบาลของอุรุกวัย ได้สัญญาจะจ่ายค่าเดินทางทั้งหมดให้กับทีมที่มาจากทวีปยุโรป ในที่สุดทีมจากยุโรป 4 ทีม ได้แก่ เบลเยียม ฝรั่งเศส ยูโกสลาเวีย และ โรมาเนีย ได้เดินทางทางทะเลเป็นเวลาสามอาทิตย์มาที่ประเทศอุรุกวัย การแข่งขันในครั้งนี้ได้แบ่งออกเป็น 4 สาย A B C และ D โดยสาย A มีอยู่ 4 ประเทศ ขณะที่สายอื่นมี 3 ประเทศ ผู้ชนะในแต่ละสายจะมาแข่งกัน.

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและฟุตบอลโลก 1930 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและฟุตบอลโลก 1930 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 1994

ฟุตบอลโลก 1994 (พ.ศ. 2537) เป็นฟุตบอลโลกครั้งที่ 15 จัดที่ประเทศสหรัฐ มีสมาชิกที่ผ่านรอบคัดเลือกร่วมทั้งหมด 24 ทีม โดยเป็นครั้งแรกที่ฟุตบอลโลกจัดการแข่งขันที่ทวีปอเมริกาเหนือด้วย และเป็นครั้งแรกที่ใช้การนับแต้มระบบ ชนะได้ 3 แต้มซึ่งเป็นการคาดหวังว่าจะทำให้ทุกทีมหันมาเน้นกันทำประตูกันมากขึ้น โดยในครั้งนี้ไม่มีมหาอำนาจลูกหนังโลกขวัญใจชาวไทย อย่างอังกฤษ และ ฝรั่งเศสลงแข่งขันด้วย เนื่องจากไม่ผ่านรอบคัดเลือก.

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและฟุตบอลโลก 1994 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและฟุตบอลโลก 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 1998

ฟุตบอลโลก 1998 (1998 Football World Cup) หรือ ฟร็องส์ '98 (France '98) เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกจัดขึ้นในประเทศฝรั่งเศส ในช่วงระหว่างวันที่ 12 มิถุนายน ถึง 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 ฝรั่งเศสได้รับเลือกเป็นเจ้าภาพโดยการตัดสินจากฟีฟ่า ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2535 ชนะประเทศโมร็อกโก.

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและฟุตบอลโลก 1998 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและฟุตบอลโลก 1998 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 2002

ฟุตบอลโลก 2002 (2002 FIFA World Cup Korea/Japan) จัดขึ้นในเกาหลีใต้และญี่ปุ่น ในวันที่ 14 มิถุนายน - 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งที่ 17 และเป็นครั้งแรกที่มีเจ้าภาพ 2 ประเทศ ซึ่งทำให้ทีมชาติเกาหลีใต้และทีมชาติญี่ปุ่นเข้าไปเล่นในฟุตบอลโลกโดยอัตโนมัติเช่นเดียวกับทีมชาติฝรั่งเศสที่ชนะเลิศฟุตบอลโลก 1998 และนับเป็นการแข่งขันครั้งแรกที่จัดขึ้นในทวีปเอเชีย ในการแข่งขันนี้ทีมชาติบราซิลชนะเยอรมนี 2-0 ในนัดชิงชนะเล.

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและฟุตบอลโลก 2002 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและฟุตบอลโลก 2002 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 2006

ฟุตบอลโลก 2006 (2006 FIFA World Cup) รอบสุดท้ายเป็นฟุตบอลโลกครั้งที่ 18 จัดขึ้น ณ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน ถึง 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006) มีทีมเข้าแข่งขันในรอบสุดท้าย 32 ทีม ทีมชาติอิตาลีคว้าแชมป์ฟุตบอลโลกครั้งนี้ด้วยการเอาชนะฝรั่งเศสในการยิงจุดโทษ 5-3 หลังเสมอกัน 1-1 ประตู อันดับสามตกเป็นของเจ้าภาพเยอรมนีหลังเอาชนะโปรตุเกส 3-1 ประตู ประเทศเยอรมนีชนะได้สิทธิจัดการแข่งขันฟุตบอลโลก 2006 เมื่อเดือนมิถุนายน..

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและฟุตบอลโลก 2006 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและฟุตบอลโลก 2006 · ดูเพิ่มเติม »

สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย

มาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (Asian Football Confederation) หรือ เอเอฟซี (AFC) เป็นองค์กรที่ควบคุมการแข่งขันฟุตบอลในทวีปเอเชีย จัดการเกี่ยวกับทีมฟุตบอล เงินรางวัล กฎระเบียบ รวมถึงลิขสิทธิ์ในการถ่ายทอดฟุตบอล เอเอฟซีเป็น 1 ใน 6 สมาคมที่จัดการแข่งขันฟุตบอลทั่วโลกของฟีฟ่า เอเอฟซีก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2497 ที่ มะนิลา ในประเทศฟิลิปปินส์ ปัจจุบันสำนักงานใหญ่ย้ายมาอยู่ที่ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซี.

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย · ฟุตบอลทีมชาติไทยและสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ

หพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (Fédération Internationale de Football Association) หรือ ฟีฟ่า (FIFA) เป็นองค์กรที่ดำเนินการในกีฬาฟุตบอลระหว่างประเทศ และเป็นองค์กรกีฬาที่ใหญ่ที่สุดในโลกปัจจุบัน สำนักงานตั้งอยู่ที่เมืองซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ · ฟุตบอลทีมชาติไทยและสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน

หพันธ์ฟุตบอลอาเซียน (ASEAN Football Federation) หรือ เอเอฟเอฟ (AFF) เป็นองค์กรย่อยของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย สำหรับจัดการแข่งขันฟุตบอลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเอฟเอฟก่อตั้งในปี พ.ศ. 2537 โดยมี 10 ประเทศสมาชิกอาเซียนในปัจจุบันเป็นสมาชิกก่อตั้ง และในปี พ.ศ. 2539 ได้มีการจัดการแข่งขัน ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน และ พ.ศ. 2545 มีการจัดการแข่งขัน อาเซียนคลับแชมเปียนชิพ และ พ.ศ. 2559 จัดการแข่งขัน อาเซียนซูเปอร์ลีก ปัจจุบันเอเอฟเอฟได้มีสมาชิกใหม่คือติมอร์-เลสเต เพิ่มเข้ามาในปี พ.ศ. 2547 และออสเตรเลีย ที่เข้าร่วมการแข่งขันตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 และได้เป็นสมาชิกอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2556.

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน · ฟุตบอลทีมชาติไทยและสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน · ดูเพิ่มเติม »

อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007

ในการแข่งขันอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2006 นี้ได้เริ่มเปลี่ยนชื่อจาก "ไทเกอร์คัพ" เดิม มาเป็น อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพขึ้น โดยจะจัดรอบคัดเลือก ระหว่างวันที่ 12 พฤศจิกายน..

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007 · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปเอเชีย

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68–69); "Asia" (pp. 90–91): "A commonly accepted division between Asia and Europe is formed by the Ural Mountains, Ural River, Caspian Sea, Caucasus Mountains, and the Black Sea with its outlets, the Bosporus and Dardanelles." จีนและอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลกตั้งแต่คริสต์ศักราชที่ 1 ถึง 1800 จีนเป็นประเทศที่มีอำนาจทางเศรษฐกิจที่สำคัญและดึงดูดผู้คนจำนวนมากให้ไปทางตะวันออก และตำนาน ความมั่งคั่งและความรุ่งเรืองของวัฒนธรรมโบราณของอินเดียกลายเป็นสัญลักษณ์ของเอเชีย สิ่งเหล่านี้จึงดึงดูดการค้า การสำรวจและการล่าอาณานิคมของชาวยุโรป การค้นพบเส้นทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกโดยบังเอิญจากยุโรปไปอเมริกาของโคลัมบัสในขณะที่กำลังค้นหาเส้นทางไปยังอินเดียแสดงให้เห็นความดึงดูดใจเหล่านี้ เส้นทางสายไหมกลายเป็นเส้นทางการค้าหลักของฝั่งตะวันออกกับฝั่งตะวันตกในขณะที่ช่องแคบมะละกากลายเป็นเส้นทางเดินเรือที่สำคัญ ช่วงศตวรรษที่ 20 ความแข็งแรงของประชากรเอเชียและเศรษฐกิจ (โดยเฉพาะเอเชียตะวันออก) เติบโตเป็นอย่างมากแต่การเติบโตของประชากรโดยรวมลดลงเรื่อย ๆ เอเชียเป็นแหล่งกำเนิดของศาสนาหลักบนโลกหลายศาสนา อาทิศาสนาคริสต์, ศาสนาอิสลาม, ศาสนายูดาห์, ศาสนาฮินดู, ศาสนาพุทธ, ลัทธิขงจื๊อ, ลัทธิเต๋า, ศาสนาเชน, ศาสนาซิกข์, ศาสนาโซโรอัสเตอร์และศาสนาอื่น ๆ อีกมากมาย เนื่องเอเชียจากมีขนาดใหญ่และมีความหลากหลายทางแนวคิด ภูมินามวิทยาของเอเชียมีตั้งแต่สมัยคลาสสิกซึ่งคาดว่าน่าจะตั้งตามลักษณะผู้คนมากกว่าลักษณะทางกายภาพ เอเชียมีความแตกต่างกันอย่างมากทั้งด้านภูมิภาค กลุ่มชาติพันธุ์ วัฒนธรรม, สภาพแวดล้อม, เศรษฐศาสตร์, ประวัติศาสตร์และระบบรัฐบาล นอกจากนี้ยังมีสภาพอากาศที่แตกต่างกันอย่างมากเช่น พื้นเขตร้อนหรือทะเลทรายในตะวันออกกลาง, ภูมิอากาศแบบอบอุ่นทางตะวันออก ภูมิอากาศแบบกึ่งอารกติกทางตอนกลางของทวีปและภูมิอากาศแบบขั่วโลกในไซบีเรี.

ทวีปเอเชียและฟุตบอลทีมชาติกัมพูชา · ทวีปเอเชียและฟุตบอลทีมชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ประเทศไทยและฟุตบอลทีมชาติกัมพูชา · ประเทศไทยและฟุตบอลทีมชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ไทเกอร์คัพ 1996

ทเกอร์คัพ 1996 เป็นการแข่งขันฟุตบอลในรายการอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ หรือภายใต้ชื่อของ "ไทเกอร์คัพ" ตามผู้สนับสนุน ซึ่งครั้งนี้เป็นการจัดการแข่งครั้งแรกโดยมีประเทศสิงคโปร์เป็นเจ้าภาพ เริ่มการแข่งขันตั้งแต่วัน 1 กันยายน - 15 มกราคม พ.ศ. 2539 โดยมีประเทศเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 10 ประเท.

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและไทเกอร์คัพ 1996 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและไทเกอร์คัพ 1996 · ดูเพิ่มเติม »

ไทเกอร์คัพ 1998

อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ หรือภายใต้ชื่อของ ไทเกอร์คัพ ตามผู้สนับสนุน โดยครั้งนี้ประเทศเวียดนาม เป็นเจ้าภาพ เริ่มการแข่งขันตั้งแต่วัน 26 สิงหาคม - 5 กันยายน พ.ศ. 2541 โดยมีประเทศเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 8 ประเท.

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและไทเกอร์คัพ 1998 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและไทเกอร์คัพ 1998 · ดูเพิ่มเติม »

ไทเกอร์คัพ 2000

อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ หรือภายใต้ชื่อของ ไทเกอร์คัพ ตามผู้สนับสนุน โดยครั้งนี้ประเทศไทย เป็นเจ้าภาพ เริ่มการแข่งขันตั้งแต่วัน 5 พฤศจิกายน - 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 โดยมีประเทศเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 9 ประเท.

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและไทเกอร์คัพ 2000 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและไทเกอร์คัพ 2000 · ดูเพิ่มเติม »

ไทเกอร์คัพ 2004

อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ หรือภายใต้ชื่อของ ไทเกอร์คัพ ตามผู้สนับสนุน โดยครั้งนี้ประเทศเวียดนามและมาเลเซีย เป็นเจ้าภาพร่วมกัน เริ่มการแข่งขันตั้งแต่วัน 7 ธันวาคม พ.ศ. 2547 - 16 มกราคม พ.ศ. 2548 โดยมีประเทศเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 10 ประเท.

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและไทเกอร์คัพ 2004 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและไทเกอร์คัพ 2004 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนคัพ

อเชียนคัพ (AFC Asian Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลในทวีปเอเชีย จัดโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย ซึ่งผู้ชนะการแข่งขันจะได้รับตำแหน่งแชมป์เปียนของเอเชียนคัพ การจัดการแข่งขันจัดขึ้นทุก 4 ปี โดยเริ่มจัดครั้งแรกเมื่อ ปี พ.ศ. 2499 (ค.ศ. 1956) และจัดต่อเนื่องทุก 4 ปี จนกระทั่งในปี..

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและเอเชียนคัพ · ฟุตบอลทีมชาติไทยและเอเชียนคัพ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนคัพ 1972

การแข่งขัน เอเชียนคัพ 1972 รอบสุดท้ายจัดขึ้นที่ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 7 พฤษภาคม ถึง 19 พฤษภาคม ทีมที่ชนะเลิศคืออิหร่าน.

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและเอเชียนคัพ 1972 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและเอเชียนคัพ 1972 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนคัพ 2007

อเชียนคัพ 2007 เป็นการแข่งขันฟุตบอลเอเชียนคัพ ครั้งที่ 14 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 7-29 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 โดยมี 4 ประเทศร่วมเป็นเจ้าภาพ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย เวียดนาม และ อินโดนีเซีย ซึ่ง ทีมชาติเวียดนาม เป็นทีมเจ้าภาพทีมเดียวที่ผ่านเข้ารอบสอง นอกจากนี้ในการแข่งขัน ทีมชาติออสเตรเลียเข้าร่วมแข่งขันเป็นครั้งแรกภายหลังจากที่ย้ายมาเข้าเอเอฟซี ประเทศที่ชนะเลิศการแข่งขัน ฟุตบอลทีมชาติอิรัก โดยชนะ ซาอุดีอาระเบีย ไป 1 ประตูต่อ 0.

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและเอเชียนคัพ 2007 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและเอเชียนคัพ 2007 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและฟุตบอลทีมชาติไทย

ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชา มี 27 ความสัมพันธ์ขณะที่ ฟุตบอลทีมชาติไทย มี 414 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 22, ดัชนี Jaccard คือ 4.99% = 22 / (27 + 414)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาและฟุตบอลทีมชาติไทย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »