ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และฟุตบอลถ้วยพระราชทาน
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และฟุตบอลถ้วยพระราชทาน มี 40 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก.ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ค.ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ง.ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2550/51ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2551ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2552ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2553ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2554ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2555ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2556สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ดสโมสรฟุตบอลบีจีซีสโมสรฟุตบอลพัทยา ยูไนเต็ดสโมสรฟุตบอลกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยสโมสรฟุตบอลการท่าเรือสโมสรฟุตบอลมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์สโมสรฟุตบอลราชวิถีสโมสรฟุตบอลอัสสัมชัญสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ดสโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงไทยสโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงเทพสโมสรฟุตบอลธนาคารกสิกรไทยสโมสรฟุตบอลทีเอ ระยองสโมสรฟุตบอลนาวิกโยธิน ยูเรก้าสโมสรฟุตบอลแอร์ฟอร์ซ เซ็นทรัลสโมสรฟุตบอลโกลเบล็ก เอฟซีสโมสรฟุตบอลไอพีอี สมุทรสาคร ยูไนเต็ดสโมสรฟุตบอลไทยฮอนด้าสโมสรฟุตบอลเพื่อนตำรวจ...สโมสรฟุตบอลเจ ดับบลิว โปลิศสโมสรฟุตบอลเทพศิรินทร์สโมสรกีฬาราชประชาทหารบก เอฟซีประเทศไทยไทยลีกไทยลีก 2ไทยลีก 4ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีกไทยเอฟเอคัพ ขยายดัชนี (10 มากกว่า) »
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก. (Kor Royal Cup) หรือชื่อเดิม ถ้วยใหญ่ (เปลี่ยนชื่อในปี พ.ศ. 2506) ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานระดับชั้นที่ 1 ของประเทศไทยจัดการแข่งขันครั้งแรกในปี พ.ศ. 2459 พร้อมกับ ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข. หรือ ถ้วยน้อย โดยกรมมหรสพ สามารถคว้าแชมป์ในรายการนี้เป็นทีมแรก ในปี พ.ศ. 2506 สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ได้ทำการเปลี่ยนชื่อฟุตบอลถ้วยใหญ่และฟุตบอลถ้วยน้อยเป็น ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก. และ ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก.และฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข. · ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก.และฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ·
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ค.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท. (Khor Royal Cup) ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานระดับชั้นที่ 3 ของประเทศไทยจัดการแข่งขันครั้งแรกในปี 2505 พร้อมกับ ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ง. ในปี 2559 สมาคมฟุตบอลในสมัย พลตำรวจเอก สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ได้ทำการยุบรวมฟุตบอลถ้วย ข-ง เข้าด้วยกันและเปลี่ยนชื่อเป็น ลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 3 ทำให้ทีมในถ้วย ข-ง กลายสภาพเป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพโดยทีมแชมป์ดิวิชั่น 3 จะได้ครองถ้วยพระราชทานประเภท ง. และมีสิทธิขึ้นไปเล่นใน ลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2 พร้อมกับรองแชมป์และอันดับ 3 กับ อันดับ 4.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ค. · ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ค.และฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ·
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ง.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ง. (Ngor Royal Cup) ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานระดับชั้นที่ 4 ของประเทศไทยจัดการแข่งขันครั้งแรกในปี 2505 พร้อมกับ ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ค. ในปี 2559 สมาคมฟุตบอลในสมัย พลตำรวจเอก สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ได้ทำการยุบรวมฟุตบอลถ้วย ข-ง เข้าด้วยกันและเปลี่ยนชื่อเป็น ลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 3 ทำให้ทีมในถ้วย ข-ง กลายสภาพเป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพโดยทีมแชมป์ดิวิชั่น 3 จะได้ครองถ้วยพระราชทานประเภท ง. และมีสิทธิขึ้นไปเล่นใน ลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2 พร้อมกับรองแชมป์และอันดับ 3 กับ อันดับ 4 ศูนย์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล ทีมแชมป์ถ้วย ง. ทีมสุดท้ายในปี 2558.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ง. · ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ง.และฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ·
ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2550/51
ไม่มีคำอธิบาย.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2550/51 · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2550/51 ·
ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2551
การแข่งขันฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ถ้วย ข ของประเทศไทย จัดขึ้นระหว่างวันที่ 20 พ.ย. - 17 ธ.ค. 2551 โดยมีจำนวนทีมที่เข้าร่วมการแข่งขันทั้งสิ้น 19 ทีม แบ่งการแข่งขันออกเป็น 5 สายในรอบแรก ทีมที่ได้อันดับที่หนึ่งและสองของแต่ละสาย จะได้เข้ารอบต่อไป โดยในรอบแรกทำการแข่งขันที่ สนามกีฬากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา, สนามสมาคมธำรงไทยสโมสร และสนามวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ ส่วนในรอบสอง สาย ก ทำการแข่งขันที่ สนามวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ ส่วน สาย ข ทำการแข่งขันที่ สนามกีฬากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในรอบรองชนะเลิศ และ รอบชิงชนะเลิศ ทำการแข่งขันที่ สนามกีฬากลางจังหวัดพระนครศรีอ.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2551 · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2551 ·
ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2552
การแข่งขันฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ถ้วย ข ประจำปี 2552 ได้จัดการแข่งขันขึ้นระหว่างวันที่ 29 เม.ย. - 2553 มีจำนวนทีมที่เข้าร่วมการแข่งขันทั้งสิ้น 16 ทีม แบ่งการแข่งขันรอบแรกออกเป็น 4 สาย ทำการแข่งขันแบบกันหมด ทีมที่ได้อันดับหนึ่งและสองของแต่ละสาย จะได้เข้ารอบต่อไป โดยรอบแรกจะทำการแข่งขันสองสนาม ที่สนามแสนสิริ พุทธมณฑล สาย 2 และ สนามกีฬา ม.มหิดล ศาลายา ทีมที่ได้ตำแหน่งชนะเลิศและรองชนะเลิศ จะได้เลื่อนชั้นขึ้น ลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2 แต่ทั้งนี้ต้องดูสภาพความพร้อมของทีม และปัจจัยต่างๆ หากยังไม่พร้อมก็ได้เล่น ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ถ้วย ข ต่อไป.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2552 · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2552 ·
ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2553
การแข่งขันฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ถ้วย ข ประจำปี 2553 ได้จัดการแข่งขันขึ้นระหว่างวันพุธที่ 22 ธันวาคม 2553 ถึงวันพฤหัสบดีที่ 20 มกราคม 2554 มีจำนวนทีมที่เข้าร่วมการแข่งขันทั้งสิ้น 26 ทีม แบ่งการแข่งขันรอบแรกออกเป็น 4 สาย ทำการแข่งขันแบบกันหมด ทีมที่ได้อันดับหนึ่ง สอง และสาม ของสาย 1,2,3,4 และอันดับที่หนึ่งและสอง ของสาย 5,6 จะได้เข้ารอบต่อไป โดยจำทำการแข่งขัน สองสนาม ที่สนามกีฬา ม.มหิดล ศาลายา สนามที่ 1 และ 2 ทีมที่ได้ตำแหน่งชนะเลิศและรองชนะเลิศ จะได้เลื่อนชั้นขึ้น ลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2 *แต่ทั้งนี้ต้องดูสภาพความพร้อมของทีม และปัจจัยต่างๆ หากยังไม่พร้อมก็ได้เล่น ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ถ้วย ข ต่อไป.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2553 · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2553 ·
ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2554
การแข่งขันฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ถ้วย ข ประจำปี 2554 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 9 ถึง 22 มกราคม 2555 ที่สนามฟุตบอล จังหวัดระยอง โดยมีทีมรวมแข่งขันทั้งสิ้น 21 ทีม โดยทำการจับสลากแบ่งสาย ออกเป็น 7 กลุ่มๆ ละ 3 ทีม โดยแข่งขันพบกันหมดในกลุ่ม อันดับที่ 1 และที่ 2 ของกลุ่ม และอันดับที่3 ของกลุ่มที่ดีที่สุด 2กลุ่ม ผ่านเข้ารอบ รอบ 16 ทีมสุดท้าย จะแข่งขันแบบแบบน็อคเอาท์ จนถึงนัดชิงชนะเลิศ ทำการแข่งขันกันที.ระยอง ทั้งหมด 3 สนาม ได้แก่ สนามกีฬามาบตาพุด, สนามกีฬากลางอำเภอแกลง และ สนามกีฬากลาง.ระยอง สำหรับทีมที่ได้ตำแหน่งชนะเลิศและรองชนะเลิศ อาจได้เลื่อนชั้นขึ้นลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2554 · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2554 ·
ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2555
การแข่งขันฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ถ้วย ข ประจำปี 2555 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 3-30 กันยายน 2555 ที่สนามศูนย์ฟุตบอลแห่งชาติหนองจอก ทั้ง 3สนาม โดยมีสโมสรรวมแข่งขันทั้งสิ้น 27 สโมสร โดยทำการจับสลากแบ่งสาย ออกเป็น 8 กลุ่มๆ ละ 3-4 สโมสร โดยแข่งขันพบกันหมดในกลุ่ม อันดับที่ 1 และที่ 2 ของกลุ่ม ผ่านเข้ารอบต่อไป ซึ่งรอบ 16 ทีมสุดท้าย จะแข่งขันแบบแบบน็อคเอาท์ จนถึงนัดชิงชนะเลิศ กติกา - ส่งรายชื่อนักเตะได้ 20 คน ห้ามนักเตะลงแข่งรายการฟุตบอลอาชีพ ทุกรายการ - ผู้เล่นต่างชาติ 5 ลง 3 - มีทีมตกชั้นไปสู่ ถ้ว.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2555 · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2555 ·
ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2556
การแข่งขันฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ถ้วย ข ประจำปี 2556 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 10-25 ธันวาคม 2556 โดยแข่งขันที่ สนาม ม.กรุงเทพ-รังสิต, สนาม ศูนย์ฝึกหนองจอก, สนาม จันทรุเบกษา กองทัพอากาศ โดยมีสโมสรรวมแข่งขันทั้งสิ้น 24 สโมสร โดยทำการจับสลากแบ่งสาย ออกเป็น 8 กลุ่มๆ ละ 2-3-4 สโมสร โดยแข่งขันพบกันหมดในกลุ่ม อันดับที่ 1 และที่ 2 ของกลุ่ม ผ่านเข้ารอบต่อไป ซึ่งรอบ 16 ทีมสุดท้าย จะแข่งขันแบบแบบน็อคเอาท์ จนถึงนัดชิงชนะเลิศ กติกา - ส่งรายชื่อนักเตะได้ 20 คน ห้ามนักเตะที่ลงแข่งรายการฟุตบอลอาชีพ ทุกรายการ - ผู้เล่นต่างชาติ 5 ลง 3 - มีทีมตกชั้นไปสู่ ถ้ว.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2556 · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ข 2556 ·
สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
นักทรัพยาการบุคคล รัฐศักดิ์ ทับพุ่ม กำลังศึกษาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และการจัดการฟุตบอลอาชีพ สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นหน่วยงานของรัฐบาลไทย ซึ่งทำหน้าที่กำกับดูแลฟุตบอลในประเทศไทย รวมถึงฟุตบอลทีมชาติไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2459 อันเนื่องมาจากพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเข้าร่วมกับสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2468 และเข้าร่วมกับสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย เมื่อปี พ.ศ. 2500.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ·
สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
มสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (Buriram United F.C.) เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย ก่อตั้งสโมสรในปี พ.ศ. 2513 โดยปัจจุบันลงเล่นในไทยลีก.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ·
สโมสรฟุตบอลบีจีซี
มสรฟุตบอลบีจีซี เดิมคือ สโมสรฟุตบอลบางกอกกล๊าส บี เป็น สโมสรสำรอง ของสโมสรฟุตบอลบางกอกกล๊าส โดยสโมสรก่อตั้งในปี..
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลบีจีซี · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและสโมสรฟุตบอลบีจีซี ·
สโมสรฟุตบอลพัทยา ยูไนเต็ด
มสรฟุตบอลพัทยา ยูไนเต็ด เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพในประเทศไทยจากเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี ปัจจุบันเล่นอยู่ในไทยลีก.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลพัทยา ยูไนเต็ด · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและสโมสรฟุตบอลพัทยา ยูไนเต็ด ·
สโมสรฟุตบอลกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
มสรฟุตบอลกรุงเทพคริสเตียน เป็นสโมสร ฟุตบอล ในประเทศไทย ปัจจุบันเล่นใน ดิวิชั่น 2 โดยเคยร่วมแข่งขันใน ไทยลีก 1 ครั้ง และชนะเลิศ จตุรมิตร 7 ครั้ง.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและสโมสรฟุตบอลกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ·
สโมสรฟุตบอลการท่าเรือ
มสรฟุตบอลการท่าเรือ (Port F.C.) เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย โดยได้เข้ามาร่วมเล่นใน ไทยลีก ครั้งแรกในปี..
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลการท่าเรือ · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและสโมสรฟุตบอลการท่าเรือ ·
สโมสรฟุตบอลมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มสรฟุตบอลเกษตรศาสตร์ เป็นสโมสรฟุตบอล ในประเทศไทย เป็นตัวแทนสโมสรฟุตบอลอาชีพของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปัจจุบันลงแข่งขันในระดับ ไทยลีก 2.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและสโมสรฟุตบอลมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ·
สโมสรฟุตบอลราชวิถี
มสรฟุตบอลราชวิถี เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย ลงแข่งขันในลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2 ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2511 โดยพี่น้อง สำเริง ไชยยงค์ และ เสนอ ไชยยงค์ ในอดีตยุคก่อนจะเกิดการแข่งขันฟุตบอลไทยลีก สโมสรฟุตบอลราชวิถีจัดเป็นสโมสรที่โด่งดังและประสบความสำเร็จสโมสรหนึ่ง โดยสร้างผลงานคว้าแชมป์ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ประเภท ก ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลในระดับสูงที่สุดของประเทศไทยในขณะนั้นได้ถึง 4 สมัย รวมถึงสามารถคว้าแชมป์ฟุตบอลควีนส์คัพ ได้ 1 สมัย หลังจากที่สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยได้ก่อตั้งระบบฟุตบอลลีกสูงสุดของประเทศไทยอย่างไทยลีกขึ้น สโมสรฟุตบอลราชวิถีได้ลงแข่งขันในไทยลีกฤดูกาลแรก (ฤดูกาล 2539) ซึ่งนับเป็นการลงเล่นในลีกสูงสุดฤดูกาลแรกและฤดูกาลเดียวของสโมสร ก่อนจะตกชั้นเมื่อจบฤดูกาล ตั้งแต..
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลราชวิถี · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและสโมสรฟุตบอลราชวิถี ·
สโมสรฟุตบอลอัสสัมชัญ
มสรฟุตบอลอัสสัมชัญ เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทยของโรงเรียนอัสสัมชัญ เคยเป็นทีมชนะเลิศในฟุตบอลสโมรสรชิงถ้วยพระราชทานถ้วย กและถ้วย ข ปัจจุบันแข่งขันในจตุรมิตรสามัคคี.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลอัสสัมชัญ · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและสโมสรฟุตบอลอัสสัมชัญ ·
สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด
ัญลักษณ์สโมสร ใช้เฉพาะฤดูกาล 2560 สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด (เดิมชื่อ "สโมสรฟุตบอลทหารบก") เป็นสโมสรฟุตบอลที่เก่าแก่สโมสรหนึ่งในประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2459.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด ·
สโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงไทย
มสรฟุตบอลธนาคารกรุงไทย เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย โดยมีธนาคารกรุงไทย เป็นผู้สนับสนุนหลักและเป็นเจ้าของสโมสร ผลงานในอดีต เคยเป็นทีมชนะเลิศการแข่งขัน ไทยแลนด์ พรีเมียร์ลีก และถ้วยพระราชทาน ก. 2 สมัยซ้อน ภายใต้การจัดการทีมของ ณรงค์ สุวรรณโชติ และ วรวุฒิ แดงเสมอ และยังเคยเข้าร่วมแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกในปี 2008 ภายหลังจากทีมจากอินโดนีเซียถูกตัดสิทธิ์ แต่สโมสรตกรอบแรก.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงไทย · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและสโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงไทย ·
สโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงเทพ
มสรฟุตบอลธนาคารกรุงเทพ เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย และเป็นส่วนหนึ่งในสายงานธุรกิจของธนาคารกรุงเทพ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2506 โดยสามารถชนะเลิศ ถ้วย ก ได้ถึง 9 สมัย และ เป็นทีมแรกที่ชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอล ไทยลีก ในปี พ.ศ. 2539.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงเทพ · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและสโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงเทพ ·
สโมสรฟุตบอลธนาคารกสิกรไทย
มสรฟุตบอลธนาคารกสิกรไทย เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย และ เป็นส่วนหนึ่งในสายงานของ ธนาคารกสิกรไทย โดยผลงานในอดีตของทีม นับว่าประสบความสำเร็จในระดับนานาชาติมากที่สุดในประวัติศาสตร์ โดยเป็นสโมสรเดียวในประเทศไทยที่ชนะเลิศการแข่งขัน เอเชียนแชมเปียนส์คัพ ถึง 2 สมัย ซึ่งต่อมา สหพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชียได้ทำการรวมการแข่งขันดังกล่าวกับเอเชียนคัพวินเนอร์คัพ และเปลี่ยนชื่อเป็น เอเอฟซี แชมเปียนส์ลีก จนถึงปัจจุบัน.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลธนาคารกสิกรไทย · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและสโมสรฟุตบอลธนาคารกสิกรไทย ·
สโมสรฟุตบอลทีเอ ระยอง
มสรฟุตบอลทีเอ ระยอง เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่จังหวัดระยอง ในอดีตสโมสรใช้ชื่อในการแข่งขันว่า สโมสรจังหวัดระยอง สร้างผลงานคว้าแชมป์ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข. ได้ในปี..
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลทีเอ ระยอง · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและสโมสรฟุตบอลทีเอ ระยอง ·
สโมสรฟุตบอลนาวิกโยธิน ยูเรก้า
มสรฟุตบอลนาวิกโยธิน ยูเรก้า เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่อำเภอแกลง จังหวัดระยอง ปัจจุบันลงแข่งขันในไทยลีก 3 สโมสรมีผลงานในอดีตคือการคว้าแชมป์ฟุตบอลถ้วยพระราชทานประเภท.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลนาวิกโยธิน ยูเรก้า · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและสโมสรฟุตบอลนาวิกโยธิน ยูเรก้า ·
สโมสรฟุตบอลแอร์ฟอร์ซ เซ็นทรัล
มสรฟุตบอลแอร์ฟอร์ซ เซ็นทรัล เดิมชื่อ สโมสรฟุตบอลทหารอากาศ เป็นสโมสร ฟุตบอล ใน ประเทศไทย ปัจจุบันแข่งขันในไทยลีก ในอดีตชนะเลิศไทยลีก 2 ครั้ง และ ควีนส์คัพ ชนะเลิศ 3 ครั้ง.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลแอร์ฟอร์ซ เซ็นทรัล · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและสโมสรฟุตบอลแอร์ฟอร์ซ เซ็นทรัล ·
สโมสรฟุตบอลโกลเบล็ก เอฟซี
มสรฟุตบอลโกลเบล็ก หรือสมาคมพนักงานหลักทรัพย์โกลเบล็ก เป็นอดีตสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย เคยลงแข่งขันในลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2 โดยสโมสรฟุตบอลโกลเบล็ก สามารถคว้าแชมป์ในการแข่งขันฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ประเภท.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลโกลเบล็ก เอฟซี · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและสโมสรฟุตบอลโกลเบล็ก เอฟซี ·
สโมสรฟุตบอลไอพีอี สมุทรสาคร ยูไนเต็ด
มสรฟุตบอลสพล.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลไอพีอี สมุทรสาคร ยูไนเต็ด · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและสโมสรฟุตบอลไอพีอี สมุทรสาคร ยูไนเต็ด ·
สโมสรฟุตบอลไทยฮอนด้า
มสรฟุตบอลไทยฮอนด้า หรือเดิมคือ สมาคมกีฬาไทยฮอนด้า เป็น สโมสรฟุตบอลในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันลงแข่งขันในระดับ ไทยลีก 2 และใช้ สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา เขตมีนบุรี เป็นสนามเหย้า โดยผลงานของสโมสร สามารถทำผลงานเลื่อนชั้น 4 ครั้ง จาก ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ติดต่อกัน ตั้งแต่ปี 2545 - 2548 โดยเริ่มจากการได้ตำแหน่งรองชนะเลิศ ถ้วย ง ปี 2545, ชนะเลิศ ถ้วย ค ปี 2546,ชนะเลิศ ถ้วย ข ปี 2547 และได้ตำแหน่งรองชนะเลิศ ดิวิชั่น 1 ปี 2548 ทำให้ได้ลงทำการแข่งขันในระดับ ไทยลีก และเป็นสโมสรฟุตบอลแรกในกลุ่มบริษัทอุตสาหกรรมยานยนต์ ที่ได้เลื่อนชั้นเข้ามาแข่งขันในลีกสูงสุดระดับ โดยปัจจุบันดำเนินการบริหารโดย บจก.พญาอินทรี ลาดกระบัง ซึ่งเป็นบริษัทลูกของ บจก.ไทยฮอนด้า แมนูแฟคเจอริ่ง ซึ่งมีที่ตั้งอยู่ใน นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง โดยฐานผู้สนับสนุนของสโมสร ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มพนักงานของ บริษัทไทยฮอนด้าฯ และในเขตนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลไทยฮอนด้า · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและสโมสรฟุตบอลไทยฮอนด้า ·
สโมสรฟุตบอลเพื่อนตำรวจ
มสรฟุตบอลเพื่อนตำรวจ เป็นสโมสรที่ยืนหยัดคู่กับวงการฟุตบอลไทยมา 50 ปี ได้สร้างชื่อเสียง และประสบความสำเร็จมาอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะในอดีต ทีมตราโล่ และเสื้อสีเลือดหมูได้โลดแล่นอยู่ในวงการฟุตบอลไทยตลอดมา ในอดีตสโมสรฟุตบอลตำรวจ บริหารโดยสำนักงานตำรวจแห่งชาติตั้งแต่ปี..
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลเพื่อนตำรวจ · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและสโมสรฟุตบอลเพื่อนตำรวจ ·
สโมสรฟุตบอลเจ ดับบลิว โปลิศ
มสรฟุตบอลเจดับบลิว โปลิศ หรือชื่อเดิมว่า สมาคมสโมสรดอนเมืองสัมพันธ์ และ สมาคมสโมสรเจดับบลิวกรุ๊ป เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย โดยลงเล่นในระดับ ลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2 ภาคกลางและตะวันตก ผลงานสูงสุดของทีมคือ การคว้าแชมป์ ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทาน ประเภท ง.ปี 2548, ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทาน ประเภท.ปี 2551 และ ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทาน ประเภท.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลเจ ดับบลิว โปลิศ · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและสโมสรฟุตบอลเจ ดับบลิว โปลิศ ·
สโมสรฟุตบอลเทพศิรินทร์
มสรฟุตบอลเทพศิรินทร์ หรือ สโมสรฟุตบอลสมาคมนักเรียนเก่าเทพศิรินทร์ เป็นสโมสรฟุตบอลสมัครเล่นในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เป็นทีมฟุตบอลของโรงเรียนเทพศิรินทร์ ปัจจุบันลงแข่งขันในระดับไทยลีก อเมเจอร์ ทัวร์นาเมนต์ โดยสมาคมนักเรียนเก่าเทพศิรินทร์ จัดเป็นสโมสรฟุตบอลเก่าแก่สโมสรหนึ่งของประเทศไทย เคยสร้างผลงานคว้าแชมป์ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข. ได้ 2 สมัย และคว้าแชมป์ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ค. ได้ 2 สมั.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลเทพศิรินทร์ · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและสโมสรฟุตบอลเทพศิรินทร์ ·
สโมสรกีฬาราชประชา
มสรกีฬาราชประชา เป็นสโมสรฟุตบอล ในประเทศไทย มีสำนักงานตั้งอยู่ที่แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันลงแข่งขันในระดับ ไทยลีก 3 โซนใต้ สโมสรกีฬาราชประชาถือเป็นหนึ่งในสโมสรฟุตบอลที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในประเทศไทย โดยเป็นสโมสรฟุตบอลที่สามารถคว้าแชมป์ไทยเอฟเอคัพได้เป็นสโมสรแรก และเป็นสโมสรที่ได้แชมป์เอฟเอคัพมากที่สุดในประเทศไทยที่ 5 สมัย รวมถึงการสร้างผลงานคว้าแชมป์ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก. ได้ถึง 4 สมัย, แชมป์ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข. 1 สมัย และ ได้แชมป์ลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2 1 สมัย นอกจากนี้ยังได้รับการยกย่องในด้านการสนับสนุนนักฟุตบอลระดับเยาวชน และถือเป็นสโมสรหนึ่งที่ผลิตนักฟุตบอลป้อนเข้าสู่ที่ชาติไทยมากที่สุดตลอดระยะเวลากว่า 40 ปี สโมสรกีฬาราชประชายังได้รับการยกย่องว่าเป็นต้นแบบของฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย เนื่องจากเป็นทีมที่ลงแข่งขันฟุตบอลสโมสรในระดับสูงสุดทีมแรกที่ไม่ใช่ทีมราชการ,รัฐวิสาหกิจ,ทหาร,ตำรวจ,ธนาคาร หรือ ตัวแทนบริษัทห้างร้านใหญ่ๆ หากแต่เป็นเพียงทีมที่ทำฟุตบอลอย่างเดียวเท่านั้นโดยไม่มีกิจการอื่นมาคอยสนับสนุนงบประมาณ สโมสรถูกก่อตั้งอย่างเป็นทางการครั้งแรกในชื่อ "ทีมราชประชานุเคราะห์ดับเพลิง" โดย พล.ต.ต.ม.ร.ว.เจตจันทร์ ประวิตร สโมสรลงเล่นอย่างเป็นทางการครั้งแรกเมื่อวันที่ 24 กุมภาพัน..
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรกีฬาราชประชา · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและสโมสรกีฬาราชประชา ·
ทหารบก เอฟซี
มสรฟุตบอลทหารบก (ทหารบก เอฟซี) หรือเดิมคือ สโมสรฟุตบอลกรมสวัสดิการทหารบก เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันลงแข่งขันในระดับไทยลีก 3 ม.ร.ว.อนุพงษ์ เผ่าจินดา โดยสโมสรฟุตบอลกรมสวัสดิการทหารบกในอดีต เคยสร้างผลงานคว้าแชมป์ ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ง. ในปี..
ทหารบก เอฟซีและฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข. · ทหารบก เอฟซีและฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ·
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ประเทศไทยและฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข. · ประเทศไทยและฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ·
ไทยลีก
ทยลีก (Thai League; ชื่อย่อ T1) เป็นระบบการแข่งขันฟุตบอลลีกในระดับสูงสุดของประเทศไทย ก่อตั้งในปี..
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และไทยลีก · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและไทยลีก ·
ไทยลีก 2
ทยลีก 2 (Thai League 2; ชื่อย่อ T2) เป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกอาชีพ ระดับที่สองใน ประเทศไทย ก่อตั้งในปี..
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และไทยลีก 2 · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและไทยลีก 2 ·
ไทยลีก 4
ทยลีก 4 (Thai League 4) เป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกอาชีพระดับชั้นที่สี่ในประเทศไทย แบ่งออกเป็น 6 โซน โดยทีมชนะเลิศ และรองชนะเลิศ ของแต่ละลีกภูมิภาครวม 12 สโมสร จะได้สิทธิเข้าแข่งขันรอบแชมเปียนส์ลีกโดยอัตโนมัติ เพื่อแข่งขันเพลย์ออฟ คัดเลือกสโมสร 3 อันดับแรกขึ้นไปสู่ ไทยลีก 3 ฤดูกาลถัดไป ขณะเดียวกันอันดับสุดท้ายเมื่อจบฤดูกาล (เริ่มใช้ พ.ศ. 2559) จะไม่มีการตกชั้นแต่จะต้องพักทีม ทั้งนี้ ในฤดูกาลปัจจุบัน เป็นการแข่งขันครั้งที่ 13 ในวันที่ 15 ธันวาคม..
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และไทยลีก 4 · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและไทยลีก 4 ·
ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก
ทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก (Thailand Amateur League) คือลีกฟุตบอลระดับสมัครเล่นของประเทศไทย และนับเป็นลีกลำดับชั้นที่ 5 ของระบบฟุตบอลลีกภายในประเทศ ซึ่งเริ่มแข่งขันเป็นครั้งแรกใน ฤดูกาล 2559 โดยแบ่งการแข่งขันออกเป็นโซนต่างๆ แชมป์ของแต่ละโซนจะได้เลื่อนขั้นขึ้นไปแข่งขันในระดับลีกอาชีพ ไทยลีก 4 ต่อไป.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก ·
ไทยเอฟเอคัพ
ทยเอฟเอคัพ (Thai FA Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลถ้วยระดับสูงในประเทศไทย จัดขึ้นโดยสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เริ่มแข่งขันเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2513 และพักการแข่งขันไปตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 ต่อมาในปี พ.ศ. 2552 สมาคมฯ กลับมาจัดแข่งขันอีกครั้ง ปัจจุบัน (ตั้งแต่ฤดูกาล 2558) เปลี่ยนผู้สนับสนุนหลัก จากมูลนิธิไทยคม มาเป็นบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นผู้ผลิตเบียร์ช้าง จึงมีชื่อเรียกว่า ช้าง เอฟเอคัพ รูปแบบการแข่งขันเป็นระบบแพ้คัดออก (Knock-out) โดยกำหนดสัดส่วนของสโมสรฟุตบอลที่เข้าแข่งขัน ตามระดับชั้นของลีกที่ลงแข่งขันในฤดูกาลนั้น ทั้งนี้สโมสรที่ชนะเลิศ จะได้สิทธิเข้าแข่งขัน รายการเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกรอบคัดเลือก รอบสอง.
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และไทยเอฟเอคัพ · ฟุตบอลถ้วยพระราชทานและไทยเอฟเอคัพ ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และฟุตบอลถ้วยพระราชทาน มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และฟุตบอลถ้วยพระราชทาน
การเปรียบเทียบระหว่าง ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และฟุตบอลถ้วยพระราชทาน
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข. มี 44 ความสัมพันธ์ขณะที่ ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน มี 107 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 40, ดัชนี Jaccard คือ 26.49% = 40 / (44 + 107)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และฟุตบอลถ้วยพระราชทาน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: