โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฟุจิวะระ โนะ มิชิตะกะและเซ็สโซและคัมปะกุ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ฟุจิวะระ โนะ มิชิตะกะและเซ็สโซและคัมปะกุ

ฟุจิวะระ โนะ มิชิตะกะ vs. เซ็สโซและคัมปะกุ

ฟุจิวะระ โนะ มิชิตะกะ (พ.ศ. 1496 – 12 พฤษภาคม พ.ศ. 1538) ขุนนางผู้ใหญ่ใน ยุคเฮอัง ซึ่งดำรงตำแหน่ง เซ็สโซและคัมปะกุ ในรัชสมัย จักรพรรดิอิชิโจ นอกจากนี้เขายังเป็นพระสัสสุระ (พ่อตา) ของจักรพรรดิอิชิโจอีกด้วยเนื่องจากมิชิตะกะได้ถวายตัว ฟุจิวะระ โนะ เทชิ ผู้เป็นธิดาคนโตให้เข้ามาเป็นจักรพรรดินีทำให้ความสัมพันธ์ของราชวงศ์และ ตระกูลฟุจิวะระ แน่นแฟ้นขึ้น แต่การกระทำครั้งนี้สร้างความไม่พอใจให้กับ ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะ ผู้เป็นน้องชายที่ต้องการส่งบุตรสาวให้มาเป็นจักรพรรดินีและชายาขององค์จักรพรรดิเช่นกัน หมวดหมู่:ขุนนางญี่ปุ่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคเฮอัง หมวดหมู่:ตระกูลฟุจิวะระ. งราชวงศ์สำหรับผู้สำเร็จราชการ ในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น เซ็สโซ เป็นยศของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ สำหรับจักรพรรดิที่ยังทรงพระเยาว์เกินกว่าจะปกครองก่อนที่พระองค์จะเจริญพรรษาพอที่จะปกครองประเทศ เซ็สโซจะว่าราชการแทน และ คัมปะกุ เป็นตำแหน่งผู้สำเร็จราชการสำหรับจักรพรรดิที่ทรงเจริญพระชนพรรษาแล้ว โดยอ้างว่าพระจักรพรรดิทรงไม่รู้เรื่องงานบริหารประเทศ จึงต้องให้คัมปะกุ คอยช่วยบริหารจัดการ ตลอดสมัยเฮอัง อำนาจการบริหารประเทศอยู่ในสองตำแหน่งนี้ คือ เซ็สโซ และคัมปะกุตลอด 500 ปี ผูกขาดโดยคนของตระกูลฟุจิวะระ และสายย่อยของตระกูลนี้ตลอด โดยเราจะเรียกตระกูลเหล่านี้ว่า เซ็สกัง หรือตระกูลผู้สำเร็จราชการนั่นเอง ภายหลังจากสมัยเฮอังอำนาจอยู่ในมือของรัฐบาลทหาร โดยโชกุนปกครองประเทศแทน โดยผู้สำเร็จราชการของโชกุนจะเรียกว่า ชิกเก็ง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฟุจิวะระ โนะ มิชิตะกะและเซ็สโซและคัมปะกุ

ฟุจิวะระ โนะ มิชิตะกะและเซ็สโซและคัมปะกุ มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะยุคเฮอังตระกูลฟูจิวาระ

ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะ

ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะ (ค.ศ. 966 - ค.ศ. 1028) หรือ มิชินะงะแห่งฟุชิวะระ ดำรงตำแหน่งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนสมเด็จพระจักรพรรดิ (เซ็สโซ และ คัมปะกุ) ในยุคเฮอัง ถือว่าเป็นผู้สำเร็จราชการที่มีอำนาจมากที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่น เป็นบิดาของจักรพรรดินีถึงสามพระองค์และเป็นพระอัยกา (ตา) ของจักรพรรดิสามพระองค์เช่นกัน.

ฟุจิวะระ โนะ มิชิตะกะและฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะ · ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและเซ็สโซและคัมปะกุ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเฮอัง

อัง อยู่ในช่วง ค.ศ. 794 - ค.ศ. 1185 ในปลายศตวรรษที่ 8 มีการย้ายเมืองหลวงไปที่ เฮอังเกียว (平安京 Heian-kyou) หรือเมืองเคียวโตะในปัจจุบัน นับเป็นยุคทองของประเทศญี่ปุ่น ที่ทั้งศิลปะและวัฒนธรรมรุ่งเรืองถึงขีดสุด มีการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมต่างๆ ที่หยิบยืมมาจากประเทศจีนในสมัยราชวงศ์ถัง และลัทธิขงจื้อ จนกลายเป็นวัฒนธรรมแบบเฉพาะตัวของญี่ปุ่น เฮอัง (平安,Heian) แปลว่า ความสงบสันต.

ฟุจิวะระ โนะ มิชิตะกะและยุคเฮอัง · ยุคเฮอังและเซ็สโซและคัมปะกุ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลฟูจิวาระ

ฟูจิวาระ คามาตาริ ต้นตระกูลฟูจิวาระ ฟูจิวาระ เป็นกลุ่มขุนนางที่เคยมีอำนาจและอิทธิพลอย่างยิ่งใหญ่ต่อราชสำนักญี่ปุ่น ในยุคเฮอัง โดย ฟูจิวาระ โนะ โมโตสึเนะ ได้รับการแต่งตั้งเป็นคัมปากุ ซึ่งเป็นตำแหน่งขุนนางที่ทรงอิทธิพลที่สุด และคนของฟุจิวาระก็เข้ายึดครองอำนาจในราชสำนัก ทำให้กลายเป็นตระกูลทหารที่มีอำนาจสูงสุด ยาวนานกว่า 500 ปี โดยฟูจิวาระ ได้ผูกขาดตำแหน่งคัมปากุ เซ็สโช และไดโจไดจิงตลอด 500 ปี และยังให้บุตรสาวของตระกูลอภิเษกสมรสกับจักรพรรดิ เพื่อให้เชื้อสายของตนเองเป็นจักรพรรดิอีกด้วย อย่างไรก็ตามจักรพรรดิเชื้อสายฟูจิวาระได้หมดไปในภายหลัง พร้อม ๆ กับการล่มสลายของตระกูลฟูจิวาระที่ครองอำนาจกว่า 500 ปี ตระกูลฟูจิวาระล่มสลายลงไปปี..

ตระกูลฟูจิวาระและฟุจิวะระ โนะ มิชิตะกะ · ตระกูลฟูจิวาระและเซ็สโซและคัมปะกุ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ฟุจิวะระ โนะ มิชิตะกะและเซ็สโซและคัมปะกุ

ฟุจิวะระ โนะ มิชิตะกะ มี 10 ความสัมพันธ์ขณะที่ เซ็สโซและคัมปะกุ มี 219 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 1.31% = 3 / (10 + 219)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฟุจิวะระ โนะ มิชิตะกะและเซ็สโซและคัมปะกุ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »