โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพและฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2003

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพและฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2003

ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ vs. ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2003

อนเฟเดอเรชันส์คัพ (Confederations Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลที่จัดขึ้นทุกสี่ปีโดยฟีฟ่า เป็นการแข่งขันระหว่างทีมที่ชนะเลิศจากแต่ละภูมิภาคทั่วโลก (เอเชียนคัพ แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ โกลด์คัพ โคปาอเมริกา โอเอฟซีเนชันส์คัพ และ ยูโร) พร้อมทั้งทีมที่ชนะฟุตบอลโลกครั้งล่าสุดและทีมเจ้าภาพในปีถัดไป ซึ่งจะมีทั้งหมด 8 ทีม โดยเริ่มแข่งขันครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) ในชื่อ คิงฟาฮัดคัพที่จัดขึ้นที่ซาอุดีอาระเบีย และในปี พ.ศ. 2540 ทางฟีฟ่าได้มาเป็นผู้จัดการการแข่งขันทั้งหมด แผนที่ของทีมประเทศต่าง ๆ กับผลงานที่ดีที่สุด ผู้ชนะครั้งล่าสุดคือทีมชาติบราซิล โดยได้มีการจัดขึ้นก่อนฟุตบอลโลก 2014 ที่จัดขึ้นที่ประเทศบราซิล และในปี พ.ศ. 2560 ฟุตบอลคอนเฟเดอเรชันส์คัพจะจัดขึ้นที่ประเทศรัสเซีย ก่อนการแข่งขันฟุตบอลโลก 2018. ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2003 (2003 FIFA Confederations Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระดับนานาชาติคอนเฟเดอเรชันส์คัพ จัดโดยฟีฟ่า ในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพและฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2003

ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพและฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2003 มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2005สหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศประเทศรัสเซียโกลเดนโกล

ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2005

ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2005 (อังกฤษ: 2005 FIFA Confederations Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระดับนานาชาติคอนเฟเดอเรชันส์คัพ จัดโดยฟีฟ่า ในปี พ.ศ. 2548 ที่ประเทศเยอรมนี โดยการแข่งขันจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 15 – 29 มิถุนายน.

ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพและฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2005 · ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2003และฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2005 · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ

หพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (Fédération Internationale de Football Association) หรือ ฟีฟ่า (FIFA) เป็นองค์กรที่ดำเนินการในกีฬาฟุตบอลระหว่างประเทศ และเป็นองค์กรกีฬาที่ใหญ่ที่สุดในโลกปัจจุบัน สำนักงานตั้งอยู่ที่เมืองซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพและสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ · ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2003และสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ประเทศรัสเซียและฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ · ประเทศรัสเซียและฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2003 · ดูเพิ่มเติม »

โกลเดนโกล

กลเดนโกล (Golden goal) หรือ กฎประตูทอง เป็นกติกาในกีฬาฟุตบอลไว้ตัดสินหาผู้ชนะในช่วงต่อเวลาพิเศษ 30 นาที ในเกมที่ต้องตัดสินผลแพ้ชนะ และในเกมนั้นผลประตูเสมอกันในช่วงเวลาปกติ (90 นาที) ปัจจุบันกฎนี้ไม่ถูกใช้ในเกมการแข่งขันของฟีฟ่าอีกต่อไปแล้ว ถ้าใช้กฎโกลเดนโกล ในช่วงต่อเวลาพิเศษอีกครึ่งละ 15 นาทีนั้น ถ้าทีมไหนยิงประตูได้ก่อน ทีมนั้นจะเป็นผู้ชนะทันทีโดยไม่ต้องแข่งขันต่อ แต่ถ้ายังยิงประตูกันไม่ได้จนหมดเวลา ก็จะเข้าสู่ช่วงยิงลูกโทษเพื่อหาผู้ชนะ กฎนี้ถูกคิดขึ้นโดยฟีฟ่าใน ค.ศ. 1993 โดยใช้แทนคำว่า ซัดเดน เดธ (sudden death) เนื่องจากมีความหมายที่ค่อนข้างไปในทางลบ กฎนี้ถูกใช้ครั้งแรกในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1996 และฟุตบอลโลก 1998 การแข่งขันครั้งแรกที่มีการยิงโกลเดนโกลคือ นัดระหว่างออสเตรเลียกับอุรุกวัย ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1993 ในรอบก่อนรองชนะเลิศของการแข่งขันฟุตบอลเยาวชนโลก สำหรับการแข่งขันสำคัญที่ตัดสินกันด้วยโกลเดนโกลคือรอบชิงชนะเลิศของยูโร 1996 โดยครบ 90 นาทีเสมอที่ 1-1 ครั้นในช่วงต่อเวลาพิเศษ โอลิเวอร์ เบียร์ฮอฟฟ์ ผู้เล่นของเยอรมนี ได้ยิงโกลเดนโกลเอาชนะสาธารณรัฐเช็ก ไป 2-1 คว้าแชมป์ไปครอง กฎโกลเดนโกลมีจุดหมายเพื่อกระตุ้นให้เกิดการเล่นแบบรวดเร็วและชาญฉลาด และหลีกเลี่ยงการตัดสินด้วยจุดโทษ แต่ได้รับเสียงวิจารณ์ว่าทำให้ทีมเล่นฟุตบอลแบบเน้นการป้องกันมากขึ้น เพื่อลดโอกาสความพ่ายแพ้ ส่วนในประเทศไทย มีโกลเดนโกลเกิดขึ้นในการแข่งขันเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 13 ในปี พ.ศ. 2541 ที่กรุงเทพมหานครเป็นเจ้าภาพ ระหว่างทีมชาติไทย ภายใต้การคุมทีมนัดแรกของ ปีเตอร์ วิธ กุนซือชาวอังกฤษคนแรก กับทีมชาติเกาหลีใต้ ในรอบ 8 ทีมสุดท้าย โดยครบ 90 นาทีเสมอที่ 1-1 ครั้นในช่วงต่อเวลาพิเศษนาทีที่ 95 ดุสิต เฉลิมแสน เขี่ยฟรีคิกสั้นๆ ให้ ธวัชชัย ดำรงค์อ่องตระกูล ยิงไกลแบบเต็มข้อเข้าไปเป็นโกลเดนโกลให้ไทยผ่านเข้ารอบรองชนะเลิศได้เป็นครั้งแรกด้วยการเอาชนะเกาหลีใต้ไปได้ 2-1 ใน ค.ศ. ​2002 ยูฟ่าได้นำกฎซิลเวอร์โกลมาใช้แทน โดยจะคล้ายกับกฎโกลเด้นโกล แต่จะไม่หยุดเกมเมื่อมีทีมยิงประตูได้ โดยจะเล่นจนจบครึ่งแรกของการต่อเวลาพิเศษแทน ในปี ค.ศ. ​2004 ทางฟีฟ่าได้ยกเลิกกฎโกลเดนโกลหลังจบการแข่งขันฟุตบอลยูโร 2004 ที่ประเทศโปรตุเก.

ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพและโกลเดนโกล · ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2003และโกลเดนโกล · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพและฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2003

ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ มี 26 ความสัมพันธ์ขณะที่ ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2003 มี 37 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 6.35% = 4 / (26 + 37)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพและฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2003 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »