เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ฟิโอดอร์ ดอสโตเยฟสกีและอาชญากรรมกับการลงทัณฑ์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ฟิโอดอร์ ดอสโตเยฟสกีและอาชญากรรมกับการลงทัณฑ์

ฟิโอดอร์ ดอสโตเยฟสกี vs. อาชญากรรมกับการลงทัณฑ์

ฟีโอดอร์ มิคาอิลโลวิช ดอสโตเยฟสกี (ภาษารัสเซีย Фёдор Миха́йлович Достое́вский) (11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1821 - 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1881) เป็นนักเขียนที่ถือกันว่าเป็นหนึ่งในนักเขียนรัสเซียที่ยิ่งใหญ่ที่สุด งานของเขายังมีอิทธิพลอย่างลึกซึ้งต่อมาถึงนวนิยายในคริสต์ศตวรรษที่ 20 งานของเขามักจะมีตัวละครที่อาศัยอยู่อย่างแร้นแค้น มีความคิดที่แตกต่างและสุดโต่ง และมักจะแสดงให้เห็นถึงความเข้าใจอย่างน่าประหลาดของจิตวิทยามนุษย์ และการวิเคราะห์อย่างฉลาดหลักแหลม ของสภาพการเมือง สังคม และจิตวิญญาณ ของประเทศรัสเซียในช่วงเวลาของเขา นวนิยายของเขาที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ พี่น้องคารามาซอฟ และ อาชญากรรมกับการลงทัณฑ. อาชญากรรมกับการลงทัณฑ์ นวนิยายโดยฟีโอดอร์ ดอสโตเยฟสกี เขียนขึ้นในปี..1866 ตีพิมพ์เป็นตอนๆครั้งแรกในนิตยสารเดอะ รัสเซียน แมสเซนเจอร์ เป็นระยะเวลา 12 เดือน จัดเป็นวรรณกรรมคลาสสิกชิ้นหนึ่งของโลก และเป็น 1 ใน 100 สุดยอดวรรณกรรมจากการโหวตของนักเขียนทั่วโลก มีการแปลและตีพิมพ์ในหลายประเทศ ตลอดจนมีการนำมาทำเป็นภาพยนตร์ และเขียนเป็นหนังสือการ์ตูนโดยอาซาโกะ ชิโอมิ นักวาดการ์ตูนชาวญี่ปุ่น ฟีโอดอร์ ดอสโตเยฟสกี เขียนเรื่องอาชญากรรมและการลงทัณฑ์ หลังจากที่เขาพ้นโทษจากการถูกส่งไปใช้แรงงานอย่างหนักที่ไซบีเรีย ในข้อหาเกี่ยวข้องกับกลุ่มเปตราเชฟต์สกี ที่พยายามโค่นล้มราชบัลลังก์พระเจ้าซาร์นีโคลัสที่ 1 แห่งรัสเซีย และต่อมางานเขียนชิ้นนี้ได้กลายเป็นหนึ่งในนวนิยายที่ดีที่สุดของเขานอกเหนือจากพี่น้องคารามาซอฟ เนื้อเรื่องกล่าวถึงความกดดันและสภาพที่ถูกบีบคั้นทางจิตใจของโรดิโอน โรมาโนวิช ราสโคลนิคอฟ นักศึกษาหนุ่มผู้ยากจนที่เช่าห้องอยู่ในกรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก เขาก่อเหตุฆาตกรรมถึง 2 ศพ โดยฆาตกรรมครั้งแรกเป็นการฆ่าโดยไตร่ตรองและวางแผนไว้ล่วงหน้า โดยเขาฆาตกรรมหญิงสูงวัยที่เป็นเจ้าของโรงรับจำนำที่เขานำทรัพย์สินไปจำนำไว้ ด้วยการใช้ขวานสับ ส่วนฆาตกรรมครั้งหลัง เป็นการฆ่าปิดปากผู้ที่ผ่านมาเห็นเหตุการณ์เข้าโดยบังเอิญโดยที่เขาไม่ได้คาดคิดมาก่อน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฟิโอดอร์ ดอสโตเยฟสกีและอาชญากรรมกับการลงทัณฑ์

ฟิโอดอร์ ดอสโตเยฟสกีและอาชญากรรมกับการลงทัณฑ์ มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภาษารัสเซียจักรวรรดิรัสเซียปรัชญาเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก

ภาษารัสเซีย

ษารัสเซีย (русский язык) เป็นภาษากลุ่มสลาวิกที่ใช้เป็นภาษาพูดอย่างกว้างขวางที่สุด ภาษารัสเซียจัดอยู่ในกลุ่มอินโด-ยูโรเปียน ดังนั้นจึงมีความสัมพันธ์กับภาษาสันสกฤต ภาษากรีก และภาษาละติน รวมไปถึงภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก โรมานซ์ และเคลติก (หรือเซลติก) ยุคใหม่ ตัวอย่างของภาษาทั้งสามกลุ่มนี้ได้แก่ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาไอริชตามลำดับ ส่วนภาษาเขียนนั้นมีหลักฐานยืนยันปรากฏอยู่เริ่มจากคริสต์ศตวรรษที่ 10 ในปัจจุบัน ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีการใช้นอกประเทศรัสเซียด้วย มีเอกสารทางวิทยาศาสตร์จำนวนหนึ่งตีพิมพ์เป็นภาษารัสเซีย รวมทั้งความรู้ในระดับมหาวิทยาลัยจำนวนหนึ่ง ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีความสำคัญทางการเมืองในยุคที่สหภาพโซเวียตเรืองอำนาจและยังเป็นภาษาราชการภาษาหนึ่งของสหประชาชาต.

ฟิโอดอร์ ดอสโตเยฟสกีและภาษารัสเซีย · ภาษารัสเซียและอาชญากรรมกับการลงทัณฑ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิรัสเซีย

ักรวรรดิรัสเซีย (Российская империя; Russian Empire) คืออดีตประเทศรัสเซียก่อนที่จะมีการปฏิวัติการปกครองของซาร์นิโคลัสที่ 2 เป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตในปี 1917 จักรวรรดิรัสเซียสถาปนาขึ้นในปี 1721 โดยจักรพรรดิซาร์ปีเตอร์มหาราชสถาปนาขึ้นแทนที่อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซียมีพื้นที่กว้างใหญ่ครอบคลุมยุโรปตะวันออก, เอเชีย จนไปถึงทวีปอเมริกา นับได้ว่าเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นจักรวรรดิหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์รัสเซี.

จักรวรรดิรัสเซียและฟิโอดอร์ ดอสโตเยฟสกี · จักรวรรดิรัสเซียและอาชญากรรมกับการลงทัณฑ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปรัชญา

มัยคลาสสิกไว้ในภาพเดียวกัน คำว่า ปรัชญา มีที่มามาจากภาษาสันสกฤต หมายถึงความรู้อันประเสริฐ โดยมีรากศัพท์มาจากคำว่า ปฺร ที่แปลว่าประเสริฐ กับ คำว่า ชฺญา ที่แปลว่ารู้ ซึ่งเป็นศัพท์บัญญัติโดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ แทนคำว่า philosophy ในภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำΦιλοσοφία ซึ่งไพธากอรัสเป็นผู้บัญญัติไว้ เมื่อราวศตวรรษที่ 6 ก่อน..

ปรัชญาและฟิโอดอร์ ดอสโตเยฟสกี · ปรัชญาและอาชญากรรมกับการลงทัณฑ์ · ดูเพิ่มเติม »

เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก

ซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก (Saint Petersburg; Санкт-Петербу́рг, เป็นเมืองท่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของสหพันธรัฐรัสเซีย ตั้งอยู่ปากแม่น้ำเนวา ริมอ่าวฟินแลนด์ในทะเลบอลติก เซนต์ปีเตอร์สเบิร์กสร้างโดยพระเจ้าซาร์ปีเตอร์มหาราช เมื่อ พ.ศ. 2246 โดยตัวเมืองเริ่มสร้างด้วยการถมทรายและหินเป็นจำนวนมากเพราะว่าพื้นที่เดิมของเมืองนั้นเป็นดินเลนของทะเล พระองค์ทรงเลือกที่จะสร้างเมืองที่บริเวณนี้เพราะว่าตัวเมืองมีทางออกทะเลบอลติกและสามารถติดต่อไปทางยุโรปและประเทศอื่นๆได้ง่าย เพื่อการปฏิรูปรัสเซียให้ทัดเทียมกับประเทศอื่น ๆ ในยุโรปได้โดยง่าย ต่อมาเมืองเซนต์ปีเตอร์เบิร์กจึงได้รับสมญานามว่าหน้าต่างแห่งยุโรป และได้เป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิรัสเซียเป็นเวลา 206 ปี (หลังจากนั้นได้ย้ายเมืองหลวงไปที่มอสโก เมื่อ พ.ศ. 2461) ชื่อเดิมของเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กคือ เปโตรกราด (Petrograd, Петрогра́д, ใช้ในช่วง พ.ศ. 2457-2467) และ เลนินกราด (Leningrad, Ленингра́д, ใช้ในช่วง พ.ศ. 2467-2534) ปัจจุบันเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กมีประชากรมากกว่า 4.7 ล้านคน เป็นเมืองใหญ่อันดับสองของรัสเซีย และเป็นมรดกโลกขององค์กรยูเนสโก.

ฟิโอดอร์ ดอสโตเยฟสกีและเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก · อาชญากรรมกับการลงทัณฑ์และเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ฟิโอดอร์ ดอสโตเยฟสกีและอาชญากรรมกับการลงทัณฑ์

ฟิโอดอร์ ดอสโตเยฟสกี มี 19 ความสัมพันธ์ขณะที่ อาชญากรรมกับการลงทัณฑ์ มี 8 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 14.81% = 4 / (19 + 8)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฟิโอดอร์ ดอสโตเยฟสกีและอาชญากรรมกับการลงทัณฑ์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: