โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฟิสิกส์นิวเคลียร์และเออร์เนสต์ มาร์สเดน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ฟิสิกส์นิวเคลียร์และเออร์เนสต์ มาร์สเดน

ฟิสิกส์นิวเคลียร์ vs. เออร์เนสต์ มาร์สเดน

ฟิสิกส์นิวเคลียร์ (Nuclear physics) หรือฟิสิกส์ของนิวเคลียส เป็นสาขาหนึ่งของวิชาฟิสิกส์ที่ศึกษาองค์ประกอบต่าง ๆ และปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันของนิวเคลียสทั้งหลายของอะตอม การประยุกต์ใช้ฟิสิกส์นิวเคลียร์ที่ทราบกันดีที่สุดคือ การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์และเทคโนโลยีอาวุธนิวเคลียร์ แต่การวิจัยได้ประยุกต์ในหลายสาขา เช่น เวชศาสตร์นิวเคลียร์และการสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก การปลูกฝังไอออนในวิศวกรรมศาสตร์วัสดุ และการหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสีในวิชาภูมิศาสตร์และโบราณคดี นิวเคลียสเป็นสิ่งที่ยังไม่เป็นที่เข้าใจทางทฤษฏี เพราะมันประกอบไปด้วยอนุภาคจำนวนมาก (เช่น โปรตอน และนิวตรอน) แต่ไม่มีขนาดใหญ่พอที่จะอธิบายลักษณะได้ถูกต้องเหมือนอย่างผลึก จึงมีการใช้แบบจำลองของนิวเคลียสซึ่งใช้ศึกษาพฤติกรรมทางนิวเคลียร์ส่วนใหญ่ได้ โดยอาจใช้เป็นวิธีการเดียวหรือร่วมกับวิธีการอื่น. ซอร์เออร์เนสต์ มาร์สเดน (Sir Ernest Marsden; 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1889 – 15 ธันวาคม ค.ศ. 1970) เป็นนักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ-นิวซีแลนด์ เกิดที่อีสต์แลงคาเชอร์ เข้าศึกษาที่ Queen Elizabeth's Grammar School เมืองแบล็กเบิร์น เขาได้พบกับเออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด ขณะศึกษาอยู่ที่มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ เมื่อยังเป็นนักศึกษา เขาได้ทำการทดลองอันมีชื่อเสียงคือ การทดลองไกเกอร์-มาร์สเดน (Geiger-Marsden experiment) หรือการทดลองแผ่นฟอยล์ทองคำร่วมกับฮันส์ ไกเกอร์ เมื่อปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฟิสิกส์นิวเคลียร์และเออร์เนสต์ มาร์สเดน

ฟิสิกส์นิวเคลียร์และเออร์เนสต์ มาร์สเดน มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ฟิสิกส์นิวเคลียร์และเออร์เนสต์ มาร์สเดน

ฟิสิกส์นิวเคลียร์ มี 15 ความสัมพันธ์ขณะที่ เออร์เนสต์ มาร์สเดน มี 7 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (15 + 7)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฟิสิกส์นิวเคลียร์และเออร์เนสต์ มาร์สเดน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »