โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฟาโรห์ทุตโมสที่ 2และรายพระนามฟาโรห์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ฟาโรห์ทุตโมสที่ 2และรายพระนามฟาโรห์

ฟาโรห์ทุตโมสที่ 2 vs. รายพระนามฟาโรห์

ฟาโรห์ทุตโมสที่ 2 ผู้สืบบัลลังก์ได้ครองอียิปต์อยู่ 14 ปี แต่ดูเหมือนว่าจะทรงป่วยออดๆแอดๆ อยู่ตลอด ทุตโมสที่ 2 จึงหาทางครองบัลลังก์อย่างมั่นคงด้วยการสมรสกับฮัตเชปซุตน้องสาวร่วมบิดาและธิดาของทุตโมสที่ 1 คงหวังจะได้สายเลือดของฟาโรห์ทุตโมสที่ 1 เข้ามาช่วยเพิ่มสิทธิธรรมในการปกครอง ราชินีฮัตเชปซุตนั้นนับเป็นบุคคลที่น่าสนใจมากที่สุด และอาจจะทรงเชี่ยวชาญด้านการปกครองยิ่งกว่าบุรุษส่วนมาก ก่อนที่ฟาโรห์ทุตโมสที่ 2 สวรรคตในราวปี 1479 ก่อนคริสตกาล ทรงได้แต่งตั้งทุตโมสที่ 3 ซึ่งเป็นพระโอรสขอพระองค์กับสนมอีกนางหนึ่ง ให้ครองฐานะฟาโรห์องค์ต่อไป ถึงกระนั้นทุตโมสที่ 3ยังทรงอ่อนเยาว์ไม่สามารถปกครองอาณาจักรได้ด้วยตนเอง ฮัตเชปซุตจึงอ้างวัยวุฒินี้เพื่อรั้งตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนทุตโมสที่ 3ทว่านางกลับมีความมุ่งมั่นที่จะครองอาณาจักรโดยเป็นฟาโรห์เอง ท หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์ หมวดหมู่:บุคคลในศตวรรษที่ 15 ก่อนคริสตกาล. ทความนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับราชวงศ์และฟาโรห์แห่งอียิปต์โบราณ ตั้งแต่สมัยก่อนราชวงศ์ต้น เมื่อ 3100 ปีก่อนคริสตกาลจนถึงสิ้นสมัยราชวงศ์ทอเลมีเมื่ออียิปต์กลายเป็นมณฑลแห่งโรมัน อยู่ภายใต้อำนาจจักรพรรดิออกุสตุสใน 30 ปีก่อนคริสตกาล.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฟาโรห์ทุตโมสที่ 2และรายพระนามฟาโรห์

ฟาโรห์ทุตโมสที่ 2และรายพระนามฟาโรห์ มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฟาโรห์ทุตโมสที่ 1ฟาโรห์ทุตโมสที่ 3ฟาโรห์แฮตเชปซุตมุทโนเฟรต

ฟาโรห์ทุตโมสที่ 1

ฟาโรห์ทุตโมสที่ 1ในตลอดรัชสมัยของฟาโรห์ทุตโมสที่ 1 ได้ทรงนำกองทัพรุกเข้าพิชิตเมืองใหญ่น้อยในเขตปาเลสไตน์และซีเรีย จากนั้นจึงได้บุกเข้าทำลายศูนย์อำนาจของชาวนิวเบียที่ยู่ทางใต้จนราบคาบ แล้วจัดการกวาดต้อนแรงงานก่อนจะผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอียิปต์ ทุตโมสที่ 1ได้ทรงยกทัพลึกลงไปกว่าฟาโรห์องค์ใดๆ ในสมัยก่อนหน้า และทรงกลับสู่อียิปต์โดยมีร่างไร้ชีวิตของผู้นำชาวนิวเบียห้อยมากับหัวเรือ เป็นการประกาศพระราชอำนาจและเตือนสติผู้ที่หวังมาท้าทายพระองค์ไปในตัว ฟาโรห์ทุตโมสที่ 1 สั่งให้สร้างอาคารและสลักพระนามแผ่นจารึกทั่วแผ่นดิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในดินแดนแถบนิวเบียที่พระองค์ที่พึ่งจะพิชิตได้ ขณะเดียวกันก็ทรงประกาศความศรัทธาแด่เทพ อมุน-เร ด้วยการเสริมซุ้มประตูศิลามหึมาและลานกว้างของพระองค์เข้าไปยังมหาวิหารคาร์นัก.

ฟาโรห์ทุตโมสที่ 1และฟาโรห์ทุตโมสที่ 2 · ฟาโรห์ทุตโมสที่ 1และรายพระนามฟาโรห์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟาโรห์ทุตโมสที่ 3

ฟาโรห์ทุตโมสที่สาม (บางครั้งอ่านเป็น ทุตโมซิส หรือ ทุตโมซิสที่ 3, ธอทเมส ในงานประวัติศาสตร์ที่เก่ากว่าและความหมาย "การเกิดแห่งเทพธอท") เป็นฟาโรห์ที่หกของราชวงศ์สิบแปด ในช่วง 22 ปีแรกของการครองราชย์ของรัตติกาลเขาเป็นผู้ร่วมงานกับแม่เลี้ยงและป้าของเขาฮัตเชปซุต ซึ่งเป็นชื่อฟาโรห์ ในขณะที่เขากำลังแสดงให้เห็นเป็นครั้งแรกในอนุสาวรีย์ยังมีชีวิตอยู่ทั้งสองได้รับมอบหมายตามปกติชื่อพระราชและเครื่องราชอิสริยาภรณ์และไม่ได้รับอาวุโสที่เห็นได้ชัดกว่าอื่น ๆ พระองค์ทำหน้าที่เป็นหัวหน้ากองทัพ หลังจากการตายของหลังจากการตายขอฮัตเชปซุตง และต่อมาทุตโมสที่ 3 ขึ้นไปยังฟาโรห์แห่งราชอาณาจักรเขาได้สร้างอาณาจักรที่ใหญ่ที่สุดในอียิปต์ที่เคยเห็นมา ไม่น้อยกว่าสิบเจ็ดได้ดำเนินการและพระองค์ทรงทำสงครามเอาชนะจากนิยาในซีเรียเหนือไปยังแม่น้ำไนล์ในอาณาจักรนิวเบี.

ฟาโรห์ทุตโมสที่ 2และฟาโรห์ทุตโมสที่ 3 · ฟาโรห์ทุตโมสที่ 3และรายพระนามฟาโรห์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟาโรห์แฮตเชปซุต

thumb แฮตเชปซุต (Hatshepsut; /hætˈʃɛpsut/ "สตรีชั้นสูงผู้เป็นเอก") เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ห้าในราชวงศ์ที่สิบแปดแห่งอาณาจักรอียิปต์โบราณ ซึ่งเป็นสตรี เจมส์ เฮนรี บรีสด์ (James Henry Breasted) นักไอยคุปต์วิทยา กล่าวว่า พระนางทรงเป็นที่รู้จักกันว่า "เป็นอิสตรีผู้ยิ่งใหญ่พระองค์แรกในประวัติศาสตร์ ที่พวกเรามีข้อมูล" เดิมนักวิชาการมิได้จัดว่าพระนางแฮตเชปซุตเป็นพระเจ้าแผ่นดิน แต่เป็นผู้สำเร็จราชการซึ่งดำรงตำแหน่งเป็นเวลา 21 ปี เนื่องจากปรากฏว่าพระนางสิ้นพระชนม์ในปี 1458 ก่อนคริสต์ศักราช จึงคำนวณว่าพระนางอยู่ในตำแหน่งตั้งแต่ปี 1479 ถึง 1458 ก่อนคริสต์ศักราช แต่ปัจจุบัน นักวิทยาการอีปยิปต์เห็นพ้องกันว่า พระนางแฮตเชปซุตได้ราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์ และเสวยราชย์เป็นเวลา 22 ปี ทั้งยังนับถือกันว่า พระนางเป็นพระเจ้าแผ่นดินที่ทรงประสบความสำเร็จในการบริหารราชการแผ่นดินมากที่สุดพระองค์หนึ่ง.

ฟาโรห์ทุตโมสที่ 2และฟาโรห์แฮตเชปซุต · ฟาโรห์แฮตเชปซุตและรายพระนามฟาโรห์ · ดูเพิ่มเติม »

มุทโนเฟรต

มุทโนเฟรต (พระนามมีความหมายว่า "ความงามของเทพีมัท") เป็นพระราชินีในช่วงราชวงศ์ที่สิบแปดของอียิปต์โบราณ พระองค์เป็นพระมเหสีรองของฟาโรห์ทุตโมสที่หนึ่ง มีพระมเหสีเอกคือพระนางอาโมส และพระราชมารดาของฟาโรห์ทุตโมสที่สอง พระองค์ปรากฎอยู่ในภาพสลักที่ El-bahri ซึ่งเป็นเทวสถานสร้างขึ้นโดยหลานชายของพระองค์ฟาโรห์ทุตโมสที่สามบนแผ่นศิลาจารึกนี้แสดงให้เห็นว่าพระนางมุทโนเฟรต ยังคงมีชีวิตอยู่ในระหว่างพระราชโอรสของพระองค์ยังครองราชย์อยู.

ฟาโรห์ทุตโมสที่ 2และมุทโนเฟรต · มุทโนเฟรตและรายพระนามฟาโรห์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ฟาโรห์ทุตโมสที่ 2และรายพระนามฟาโรห์

ฟาโรห์ทุตโมสที่ 2 มี 9 ความสัมพันธ์ขณะที่ รายพระนามฟาโรห์ มี 342 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 1.14% = 4 / (9 + 342)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฟาโรห์ทุตโมสที่ 2และรายพระนามฟาโรห์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »