โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฟังก์และเดอะแจ็กสันไฟฟ์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ฟังก์และเดอะแจ็กสันไฟฟ์

ฟังก์ vs. เดอะแจ็กสันไฟฟ์

ฟังก์ (Funk) เป็นแนวเพลงชนิดหนึ่งเกิดขึ้นในช่วงกลางถึงปลายทศวรรษที่ 1960 เมื่อนักดนตรีชาวแอฟริกัน-อเมริกัน ได้รวมเพลงแนวโซล เข้ากับโซลแจ๊ส และอาร์แอนด์บี ให้มีจังหวะ สามารถเต้นรำได้ เกิดแนวเพลงชนิดใหม่ ฟังก์ได้ลดความเด่นของเมโลดี้และความกลมกลืนลง และนำจังหวะสนุกสนานเพิ่มขึ้นด้วยเบสอิเล็กทรอนิกและกลองให้ชัดขึ้น ไม่เหมือนกับเพลงอาร์แอนด์บีหรือโซล ที่มีการเปลี่ยนคอร์ดหลายครั้ง เพลงฟังก์มักจะมีคอร์ดเดียว ฟังก์ประกอบด้วยจังหวะของเครื่องดนตรีอย่าง กีตาร์ไฟฟ้า เบสไฟฟ้า แฮมมอนด์ออร์แกน และกลอง เล่นในจังหวะที่เกาะเกี่ยวกัน วงฟังก์มักจะมีเครื่องเป่าอยู่ด้วย อย่าง แซกโซโฟน ทรัมเป็ต หรือในบางครั้งก็มี ทรอมโบน ผู้มีอิทธิพลต่อดนตรีฟังก์ เช่น เจมส์ บราวน์,สลาย แอนด์ เดอะ แฟมิลี สโตน, จอร์จ คลินตัน แอนด์ พาร์ไลเมน-ฟังก์คาเดลิก,เคอร์ติส เมฟิลด์, เดอะ เมเตอร์ส,เดอะ ฟังก์ บราเตอร์ส, บูทซี คอลลินส์ และ พรินซ์ วงดนตรีที่เป็นที่รู้จักในทศวรรษที่ 1970 อย่าง เอิร์ธ, วินด์แอนด์ไฟร์,ทาวเวอร์ ออฟ พาวเวอร์, คอมโมดอร์ส และคูลแอนด์เดอะแก๊ง ที่โด่งดังหลายๆ วง ก็เล่นเพลงในแนวดิสโก้และโซลด้วย ดนตรีฟังก์ได้มีการพัฒนาอย่างมากในช่วงทศวรรษที่ 1970 ในช่วงที่ดนตรีดิสโก้โด่งดัง มีความนิยมในการใช้ท่อมแซมเปิ้ลของดนตรีฟังก์ในดนตรีฮิปฮอป และฟังก์ยังมีอิทธิพลต่อแนวดนตรี โก-โก ฟังก์อย่างมีอิทธิพลต่อเพลงแนวนิวเวฟและโพสต์พังก์บ้าง. อะแจ็กสันไฟฟ์ (หรือสะกดว่า The Jackson Five หรือ The Jackson 5ive ต่อมาเปลี่ยนมาเป็น The Jacksons) เป็นกลุ่มครอบครัวศิลปินเพลงตระกูลแจ็กสัน ที่มาจาแกรี อินดีแอนา ประกอบด้วยสมาชิกเริ่มแรกคือ แจ็กกี,เจอร์เมน, มาร์ลอน และไมเคิล โดยเริ่มแรกใช้ชื่อว่า The Jackson Brothers ที่ประกอบด้วย 3 พี่น้องคนโต พวกเขามีผลงานตั้งแต่ปี 1966 ถึง 1989 โดยเล่นเพลงในแนวอาร์แอนด์บี ดนตรีโซล ฟังก์ และต่อมาเป็นดิสโก้ ในขณะที่พวกเขาอยู่กับสังกัดโมทาวน์ พวกเขาประสบความสำเร็จอย่างมากในยุคทศวรรษ 1970 หลังจากนั้น เจอร์เมนและไมเคิลไปออกผลงานเดี่ยว เดอะแจ็กสันไฟฟ์ เป็นวงแรกที่มี 4 ซิงเกิลแรก ติดอันดับเพลงอันดับ 1 ("I Want You Back", "ABC", "The Love You Save" และ "I'll Be There") ในอเมริกา และยังมีเพลงท็อป 5 เพลงอื่นอย่าง "Mama's Pearl", "Never Can Say Goodbye" และ "Dancing Machine".

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฟังก์และเดอะแจ็กสันไฟฟ์

ฟังก์และเดอะแจ็กสันไฟฟ์ มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ริทึมแอนด์บลูส์ดิสโก้โซล (แนวดนตรี)

ริทึมแอนด์บลูส์

ริทึมแอนด์บลูส์ (rhythm and blues หรือรู้จักกันในชื่อ R&B หรือ RnB) เป็นแนวเพลงที่ได้รับความนิยม โดยผสมผสานระหว่างเพลงแนว แจ๊ส กอสเปล และบลูส์ โดยเริ่มแรกจะเล่นโดยศิลปินแอฟริกัน-อเมริกัน.

ฟังก์และริทึมแอนด์บลูส์ · ริทึมแอนด์บลูส์และเดอะแจ็กสันไฟฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดิสโก้

ก้ (Disco) เป็นแนวเพลงประเภทหนึ่ง สาขาย่อยของดนตรีแดนซ์ซึ่งเกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา ที่ผสมผสานแนวฟังก์กับโซลเข้าด้วยกัน ดิสโก้ได้รับความนิยมอย่างมากในช่วยยุคคริสต์ทศวรรษที่ 1970 ตอนกลางถึงปลาย ศิลปินแนวดิสโก้ที่ได้รับความนิยมในยุคนั้น เช่น ดอนนา ซัมเมอร์, เดอะแจ็กสันไฟฟ์, แบร์รี ไวต์, บีจีส์, บอนนี เอ็ม. และแอ็บบ้า เป็นต้น ดิสโก้ได้ลดความนิยมไปในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1980.

ดิสโก้และฟังก์ · ดิสโก้และเดอะแจ็กสันไฟฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

โซล (แนวดนตรี)

ซล เป็นแนวเพลงประเภทหนึ่งที่รวมกันระหว่างอาร์แอนด์บีและกอสเปล กำเนิดในประเทศสหรัฐอเมริกา จากร็อกแอนด์โรลฮอลล์ออฟเฟม โซลมีความหมายว่า "ดนตรีที่เกิดขึ้นโดยคนผิวสี ในอเมริกา ที่เปลี่ยนรูปจากกอสเปลและอาร์แอนด์บี ในจังหวะที่สนุกสนาน โดยไม่มีเนื้อหาเกี่ยวกับทางศาสนา" การแสดงจะผ่านทางอารมณ์ และเมโลดี้มีการตกแต่งในลักษณะคีตปฏิภาณ นอกจากนี้ยังใช้ซาวด์แบบวนและเป็นเครื่องเสริม จังหวะที่ติดหู อาจมีการตบมือประกอบ การเคลื่อนไหวแบบพลาสติก องค์ประกอบอีกอย่างของโซลที่เรียกว่า call and response ที่เป็นการร้องโต้ตอบกันระหว่าง นักร้อง กับคอรัส โดยเฉพาะเสียงที่ตึง.

ฟังก์และโซล (แนวดนตรี) · เดอะแจ็กสันไฟฟ์และโซล (แนวดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ฟังก์และเดอะแจ็กสันไฟฟ์

ฟังก์ มี 22 ความสัมพันธ์ขณะที่ เดอะแจ็กสันไฟฟ์ มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 8.82% = 3 / (22 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฟังก์และเดอะแจ็กสันไฟฟ์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »