เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ฟองลูป Iและแขนนายพราน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ฟองลูป Iและแขนนายพราน

ฟองลูป I vs. แขนนายพราน

นตนาการที่แสดงถึงฟองท้องถิ่น (ขาว) เมฆโมเลกุลใกล้เคียง (สีม่วงแดง) และฟองลูป I (สีน้ำเงินอมเขียว) ฟองลูป I (Loop I Bubble) เป็นโพรงในสสารระหว่างดาว จากมุมมองของดวงอาทิตย์ ฟองนี้มีตำแหน่งอยู่ในระหว่างใจกลางทางช้างเผือก มีหลุมที่เห็นได้ชัดเจนอยู่สองโพรงที่เชื่อมต่อกับฟองท้องถิ่นและฟองลูป I อยู่ ฟองลูป I เกิดขึ้นจากลมดาวฤกษ์และซุเปอร์โนวาในกลุ่มเคลื่อนที่แมงป่อง-คนครึ่งม้า ซึ่งอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ 500 ปีแสง ข้างในฟองลูป I มีดาวแอนทาเรส (แอลฟาแมงป่อง) ฟองลูป I อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ 100 พาร์เซ็กหรือประมาณ 330 ปีแสง. รงสร้างที่สังเกตของแขนชนิดก้นหอยของทางช้างเผือกhttp://planetquest.jpl.nasa.gov/system/interactable/7/index.html See the "Spiral Arms" part of this NASA animation for details แขนนายพราน (Orion Arm) เป็นแขนชนิดก้นหอยย่อยของดาราจักรทางช้างเผือก กว้าง 3,500 ปีแสง (1,100 พาร์เซก) และยาวประมาณ 10,000 ปีแสง (3,100 พาร์เซก) ระบบสุริยะและโลกอยู่ในแขนนายพราน นอกจากนี้ แขนนายพรานยังมีชื่อเรียกเต็มว่า แขนหงส์-นายพราน รวมไปถึง แขนท้องถิ่น, สะพานนายพราน, เดือยท้องถิ่น และเดือยนายพราน แขนนายพราน ตั้งชื่อตามชื่อกลุ่มดาวนายพราน ซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่มดาวที่โดดเด่นที่สุดในฤดูหนาวทางซีกโลกเหนือ (หรือฤดูร้อนทางซีกโลกใต้) ดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดและเทห์วัตถุที่มีชื่อเสียงที่สุดในกลุ่มดาวนายพราน (ดาวบีเทลจุส ดาวไรเจล ดาวฤกษ์ในเข็มขัดนายพราน เนบิวลานายพราน) อยู่ในแขนนายพราน ดังที่แสดงในแผนที่อินเตอร์แอคทีฟด้านล่าง แขนท้องถิ่นตั้งอยู่ระหว่างแขนซาจิตทาเรียส-แครินา (เข้าใกล้ศูนย์กลางดาราจักร) และแขนเพอร์ซีอุส (เข้าใกล้เอกภพด้านนอก) แขนเพอร์ซีอุสเป็นหนึ่งในสองแขนหลักของดาราจักรทางช้างเผือก แต่ก่อน "เดือย" ระหว่างแขนเพอร์ซีอุสและแขนซาจิตทาเรียส-แครินา ที่ติดกันเคยคาดกันว่าเป็นโครงสร้างย่อย ปัจจุบันมีการนำเสนอหลักฐานในกลางปี 2556 ว่า เดือยดังกล่าวแท้จริงแล้วอาจเป็นแขนงของแขนเพอร์ซีอุส หรืออาจเป็นแขนอิสระส่วนหนึ่งก็ได้ ในแขนนายพราน ระบบสุริยะและโลกตั้งอยู่ใกล้กับขอบด้านในในฟองท้องถิ่น ราวครึ่งหนึ่งของความยาวแขนนายพราน คือ ราว 8,000 พาร์เซ็ก (26,000 ปีแสง) จากศูนย์กลางดาราจักร.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฟองลูป Iและแขนนายพราน

ฟองลูป Iและแขนนายพราน มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฟองลูป Iฟองท้องถิ่นพาร์เซกดวงอาทิตย์

ฟองลูป I

นตนาการที่แสดงถึงฟองท้องถิ่น (ขาว) เมฆโมเลกุลใกล้เคียง (สีม่วงแดง) และฟองลูป I (สีน้ำเงินอมเขียว) ฟองลูป I (Loop I Bubble) เป็นโพรงในสสารระหว่างดาว จากมุมมองของดวงอาทิตย์ ฟองนี้มีตำแหน่งอยู่ในระหว่างใจกลางทางช้างเผือก มีหลุมที่เห็นได้ชัดเจนอยู่สองโพรงที่เชื่อมต่อกับฟองท้องถิ่นและฟองลูป I อยู่ ฟองลูป I เกิดขึ้นจากลมดาวฤกษ์และซุเปอร์โนวาในกลุ่มเคลื่อนที่แมงป่อง-คนครึ่งม้า ซึ่งอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ 500 ปีแสง ข้างในฟองลูป I มีดาวแอนทาเรส (แอลฟาแมงป่อง) ฟองลูป I อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ 100 พาร์เซ็กหรือประมาณ 330 ปีแสง.

ฟองลูป Iและฟองลูป I · ฟองลูป Iและแขนนายพราน · ดูเพิ่มเติม »

ฟองท้องถิ่น

วมูร์ซิม ดวงอาทิตย์ และ ดาวแอนทาเรส) ฟองท้องถิ่น (Local Bubble) คือห้วงอวกาศที่ค่อนข้างโปร่งรูปร่างคล้ายนาฬิกาทรายอยู่ในสสารระหว่างดาว กินเนื้อที่กว้างประมาณ 300 ปีแสง และมีความหนาแน่นของไฮโดรเจนไม่มีสี 0.05 อะตอม/ซม.

ฟองท้องถิ่นและฟองลูป I · ฟองท้องถิ่นและแขนนายพราน · ดูเพิ่มเติม »

พาร์เซก

ร์เซก (Parsec; มาจาก parallax of one arcsecond ตัวย่อ: pc) เป็นหน่วยวัดระยะทางทางดาราศาสตร์ เท่ากับความสูงของสามเหลี่ยมหน้าจั่วที่มีเส้นฐานยาว 1 หน่วยดาราศาสตร์และมีมุมยอด 1 พิลิปดา มีค่าประมาณ 3.2616 ปีแสง (3.26 ปีแสง)หรือ 206,265 หน่วยดาราศาสตร์ มักใช้วัดระยะทางภายในดาราจักร การวัดระยะจากโลกถึงดาวฤกษ์คือการวัดแพรแลกซ์ของดาวฤกษ์ แพรัลแลกซ์ คือ ปรากฏการณ์ที่ผู้สังเกตมองจาก 2 จุด แล้วเห็นตำแหน่งของวัตถุเปลี่ยนไปเมื่อเทียบกับวัตถุอ้างอิง ทดลองได้โดยใช้มือถือวัตถุยื่นไปข้างหน้า แล้วสังเกตวัตถุดังกล่าวด้วยตาซ้าย และขวาจะสังเกตเห็นตำแหน่งของวัตถุเปลี่ยนไปหรือไม่ หมวดหมู่:หน่วยความยาว หมวดหมู่:มาตรดาราศาสตร์.

พาร์เซกและฟองลูป I · พาร์เซกและแขนนายพราน · ดูเพิ่มเติม »

ดวงอาทิตย์

วงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ ณ ใจกลางระบบสุริยะ เป็นพลาสมาร้อนทรงเกือบกลมสมบูรณ์ โดยมีการเคลื่อนท่พาซึ่งผลิตสนามแม่เหล็กผ่านกระบวนการไดนาโม ปัจจุบันเป็นแหล่งพลังงานสำคัญที่สุดสำหรับสิ่งมีชีวิตบนโลก มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.39 ล้านกิโลเมตร ใหญ่กว่าโลก 109 เท่า และมีมวลประมาณ 330,000 เท่าของโลก คิดเป็นประมาณ 99.86% ของมวลทั้งหมดของระบบสุริยะ มวลประมาณสามในสี่ของดวงอาทิตย์เป็นไฮโดรเจน ส่วนที่เหลือเป็นฮีเลียมเป็นหลัก โดยมีปริมาณธาตุหนักกว่าเล็กน้อย รวมทั้งออกซิเจน คาร์บอน นีออนและเหล็ก ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ลำดับหลักระดับจี (G2V) ตามการจัดประเภทดาวฤกษ์ ซึ่งเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า "ดาวแคระเหลือง" ดวงอาทิตย์เกิดเมื่อประมาณ 4.6 พันล้านปีก่อนจากการยุบทางความโน้มถ่วงของสสารภายในบริเวณเมฆโมเลกุลขนาดใหญ่ สสารนี้ส่วนใหญ่รวมอยู่ที่ใจกลาง ส่วนที่เหลือแบนลงเป็นแผ่นโคจรซึ่งกลายเป็นระบบสุริยะ มวลใจกลางร้อนและหนาแน่นมากจนเริ่มเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น ณ แก่น ซึ่งเชื่อว่าเป็นกระบวนการเกิดดาวฤกษ์ส่วนใหญ่ ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณครึ่งอายุขัย ไม่มีการเปลี่ยนแปลงมากนักเป็นเวลากว่า 4 พันล้านปีมาแล้วและจะค่อนข้างเสถียรไปอีก 5 พันล้านปี หลังฟิวชันไฮโดรเจนในแก่นของมันลดลงถึงจุดที่ไม่อยู่ในดุลยภาพอุทกสถิตต่อไป แก่นของดวงอาทิตย์จะมีความหนาแน่นและอุณหภูมิเพิ่มขึ้นส่วนชั้นนอกของดวงอาทิตย์จะขยายออกจนสุดท้ายเป็นดาวยักษ์แดง มีการคำนวณว่าดวงอาทิตย์จะใหญ่พอกลืนวงโคจรปัจจุบันของดาวพุทธและดาวศุกร์ และทำให้โลกอาศัยอยู่ไม่ได้ มนุษย์ทราบความสำคัญของดวงอาทิตย์ที่มีโลกมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และบางวัฒนธรรมถือดวงอาทิตย์เป็นเทวดา การหมุนของโลกและวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ของโลกเป็นรากฐานของปฏิทินสุริยคติ ซึ่งเป็นปฏิทินที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน.

ดวงอาทิตย์และฟองลูป I · ดวงอาทิตย์และแขนนายพราน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ฟองลูป Iและแขนนายพราน

ฟองลูป I มี 10 ความสัมพันธ์ขณะที่ แขนนายพราน มี 32 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 9.52% = 4 / (10 + 32)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฟองลูป Iและแขนนายพราน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: