โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฟร็องซิส ปีกาบียาและมาร์แซล ดูว์ช็อง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ฟร็องซิส ปีกาบียาและมาร์แซล ดูว์ช็อง

ฟร็องซิส ปีกาบียา vs. มาร์แซล ดูว์ช็อง

ฟร็องซิส ปีกาบียา (Francis Picabia; ชื่อเกิด ฟร็องซิส-มารี มาร์ตีเน เดอ ปีกาบียา, 22 มกราคม ค.ศ.1879 – 30 พฤศจิกายน ค.ศ.1953) ศิลปิน ช่างภาพ กวี และนักพิมพ์ที่มีชื่อเสียงในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 นอกจากบทบาทในการเป็นหนึ่งในผู้เคลื่อนไหวคนสำคัญของลัทธิดาดาในอเมริกาและฝรั่งเศสแล้ว เขายังมีผลงานในลัทธิประทับใจ ศิลปะนามธรรม และงานในศิลปะลัทธิผสานจุดสี เขายังมีผลงานเกี่ยวข้องกับบาศกนิยมและโดดเด่นในผลงานของลัทธิเหนือจริงอีกด้ว. อ็องรี-รอแบร์-มาร์แซล ดูว์ช็อง (Henri-Robert-Marcel Duchamp; 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1887 – 2 ตุลาคม ค.ศ. 1968) เกิดที่แบล็งวีล-เครอวง ประเทศฝรั่ง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฟร็องซิส ปีกาบียาและมาร์แซล ดูว์ช็อง

ฟร็องซิส ปีกาบียาและมาร์แซล ดูว์ช็อง มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กลุ่มล้ำยุคลัทธิประทับใจลัทธิเหนือจริงดาดา

กลุ่มล้ำยุค

กลุ่มล้ำยุค (avant-garde) ในภาษาฝรั่งเศสหมายถึงทหารกองหน้า (แวนการ์ด), Dictionary.com เรียกดูเมื่อ 14 มีนาคม..

กลุ่มล้ำยุคและฟร็องซิส ปีกาบียา · กลุ่มล้ำยุคและมาร์แซล ดูว์ช็อง · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิประทับใจ

''Avenue de l'Opéra'') โดยกามีย์ ปีซาโร ลัทธิประทับใจ หรือ อิมเพรสชันนิซึม (impressionism) เป็นขบวนการศิลปะที่เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเริ่มต้นจากการรวมตัวกันอย่างหลวม ๆ ของจิตรกรทั้งหลายที่มีนิวาสถานอยู่ในกรุงปารีส พวกเขาเริ่มจัดแสดงงานศิลปะในช่วงทศวรรษที่ 1860 ชื่อของขบวนการนี้มีที่มาจากภาพวาดของโกลด มอแน ที่มีชื่อว่า Impression, Sunrise ("Impression, soleil levant" ในภาษาฝรั่งเศส) และนักวิจารณ์ศิลปะนามว่าหลุยส์ เลอรัว (Louis Leroy) ก็ได้ให้กำเนิดคำคำนี้ขึ้นมาอย่างไม่ตั้งใจในบทวิจารณ์ศิลปะเชิงเสียดสีซึ่งตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์เลอชารีวารี (Le Charivari) อิทธิพลของลัทธิประทับใจยังแผ่ออกจากวงการศิลปะไปยังดนตรีและวรรณกรรม.

ฟร็องซิส ปีกาบียาและลัทธิประทับใจ · มาร์แซล ดูว์ช็องและลัทธิประทับใจ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิเหนือจริง

“Arrested Expansion หรือ Cardiac Arrest” โดย จอร์จ กรี (George Grie) ลัทธิเหนือจริง หรือ เซอร์เรียลลิซึม (Surrealism) เป็น “ลัทธิ” หรือ “ขบวนการ” ทางวรรณศิลป์และทัศนศิลป์ที่เกิดขึ้นในฝรั่งเศสช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง อ็องเดร เบรอตง (Andre Breton) เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มดาดา (Dadaism) ที่มีเป้าหมายใช้ความก้าวร้าวรุนแรงเพื่อต่อต้านสงคราม ต่อต้านค่านิยมของชนชั้นกลางทุกชนิดรวมทั้งคริสต์ศาสนา ต้องการทำลายขนบประเพณีที่ชนชั้นกลางสะสมไว้รวมทั้งศิลปวรรณคดีด้วย หลังจากร่วมทำกิจกรรมกับกลุ่มดาดาอยู่ระยะหนึ่งเบรอตงกับเพื่อนก็แยกตัวออกมาตั้งกลุ่มใหม่ คือ กลุ่มเซอร์เรียลลิซึม ซึ่งยังรับเอาความก้าวร้าวมุ่งทำลายค่านิยมของชนชั้นกลางของดาดามาเป็นฐานแต่มุ่งสร้างค่านิยมใหม.

ฟร็องซิส ปีกาบียาและลัทธิเหนือจริง · มาร์แซล ดูว์ช็องและลัทธิเหนือจริง · ดูเพิ่มเติม »

ดาดา

(Dada) หรือ คติดาดา (Dadaism) เป็นลัทธิหรือกระแสความเคลื่อนไหวทางศิลปะที่เกิดขึ้นในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับศิลปะในลัทธิเหนือจริง (surrealism) ลักษณะโดยรวมของกลุ่มดาดานั้นจะมีน้ำหนักไปในแนวทางต่อต้านสังคมและกฎเกณฑ์ความงามของศิลปะแบบเดิม ๆ ซึ่งเคยเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป กล่าวได้ว่า ดาดาใช้ศิลปะเป็นเครื่องมือในการกบฏต่อทุกสิ่งที่เคยมีมาในอดีต.

ดาดาและฟร็องซิส ปีกาบียา · ดาดาและมาร์แซล ดูว์ช็อง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ฟร็องซิส ปีกาบียาและมาร์แซล ดูว์ช็อง

ฟร็องซิส ปีกาบียา มี 23 ความสัมพันธ์ขณะที่ มาร์แซล ดูว์ช็อง มี 11 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 11.76% = 4 / (23 + 11)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฟร็องซิส ปีกาบียาและมาร์แซล ดูว์ช็อง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »