โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนตและสงครามกลางเมืองอังกฤษ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนตและสงครามกลางเมืองอังกฤษ

ฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนต vs. สงครามกลางเมืองอังกฤษ

ฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนต หรือพระเจ้าฟรีดริชที่ 1 แห่งโบฮีเมีย (Friedrich V, Frederick V, Elector Palatine; 26 สิงหาคม ค.ศ. 1596 - 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1632) เป็นเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนต และเป็นพระมหากษัตริย์แห่งโบฮีเมีย ในพระนามว่า "พระเจ้าฟรีดริชที่ 1" (Fridrich Falcký) ระหว่างปี ค.ศ. 1619 ถึงปี ค.ศ. 1620 อันเป็นระยะเวลาอันสั้นที่ทำให้เรียกกันว่า "พระราชาแห่งเหมันต์" (Zimní král) พระเจ้าฟรีดริชเสด็จพระราชสมภพที่ตำหนักล่าสัตว์ใกล้อัมแบร์กที่โอเบอร์พฟาลซ์ พระองค์เป็นพระโอรสและทายาทของฟรีดริชที่ 4 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนตและหลุยส์ ยูเลียนาแห่งนัสเซาพระราชธิดาของวิลเลียมที่ 1 แห่งออเรนจ์ และ ชาร์ลอตต์เดอบูร์บอง พระองค์ทรงเป็นผู้คงแก่เรียน รหัสยิก และผู้ถือลัทธิคาลวิน ต่อมาฟรีดริชสืบครองรัฐผู้คัดเลือกพาลาทิเนตเป็นเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกในปี ค.ศ. 1610 ฟรีดริชทรงเป็นผู้สร้าง สวนพฤกษชาติพาเลไทน์ อันมีชื่อเสียงที่ไฮเดลแบร์ก. “หนูเห็นพ่อครั้งสุดท้ายเมื่อไหร่?” โดย วิลเลียม เฟรดเดอริค ยีมส์ (William Frederick Yeames) เป็นภาพรัฐสภาถามลูกชายของฝ่ายนิยมกษัตริย์ระหว่างสงครามกลางเมือง สงครามกลางเมืองอังกฤษ (English Civil War; ค.ศ. 1642 ถึงปี ค.ศ. 1651) เป็นสงครามกลางเมืองของอังกฤษ, สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ที่ต่อเนื่องกันหลายครั้งระหว่างฝ่ายรัฐสภา และฝ่ายกษัตริย์นิยม สงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1642 ถึงปี ค.ศ. 1646; ครั้งที่ 2 ระหว่างปี ค.ศ. 1648 ถึงปี ค.ศ. 1649 เป็นสงครามของความขัดแย้งระหว่างผู้สนับสนุนพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ฝ่ายหนึ่งและผู้สนับสนุนรัฐสภายาวอีกฝ่ายหนึ่ง ขณะที่ครั้งที่ 3 ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1649 ถึงปี ค.ศ. 1651 เป็นการต่อสู้ระหว่างผู้สนับสนุนพระเจ้าชาลส์ที่ 2 และผู้สนับสนุนรัฐสภารัมพ์อีกฝ่ายหนึ่ง สงครามกลางเมืองจบลงด้วยชัยชนะของฝ่ายรัฐสภาที่ยุทธการวูสเตอร์เมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 ผลของสงครามกลางเมืองครั้งที่สองนำไปสู่การปลงพระชนม์ของพระเจ้าชาลส์ที่ 1, การลี้ภัยของพระราชโอรสพระเจ้าชาลส์ที่ 2 และการเปลี่ยนระบบการปกครองของอังกฤษจากระบอบพระมหากษัตริย์ไปเป็นระบบเครือจักรภพแห่งอังกฤษ ระหว่างปี ค.ศ. 1649 ถึงปี ค.ศ. 1653 และต่อจากนั้นไปเป็นระบบรัฐผู้พิทักษ์ภายใต้การนำของโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ระหว่างปี ค.ศ. 1653 ถึงปี ค.ศ. 1659 เอกสิทธิ์ในการนับถือคริสต์ศาสนาของนิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์ในอังกฤษสิ้นสุดลงด้วยการรวม การปกครองโดยโปรเตสแตนต์ (Protestant Ascendancy) ในไอร์แลนด์ ในด้านรัฐธรรมนูญสงครามครั้งนี้เป็นการวางรากฐานว่าการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ไม่สามารถทำได้โดยมิได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา แต่อันที่จริงแล้วปรัชญานี้ก็มิได้ปฏิบัติกันอย่างจริงจังจนกระทั่งถึงสมัยการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ในปลายคริสต์ศตวรรษ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนตและสงครามกลางเมืองอังกฤษ

ฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนตและสงครามกลางเมืองอังกฤษ มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ลัทธิคาลวินเจ้าชายรูเพิร์ตแห่งไรน์

ลัทธิคาลวิน

ลัทธิคาลวิน (Calvinism) ขนบปฏิรูป (Reformed tradition) หรือ เทววิทยาปฏิรูป เป็นเทววิทยาศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ ที่ถือแนวคำสอนและการปฏิบัติตามการตีความของฌ็อง กาลแว็ง และนักเทววิทยาอื่น ๆ ช่วงการปฏิรูปศาสนา ลัทธิคาลวินแตกหักกับคริสตจักรโรมันคาทอลิก จึงนับเป็นฝ่ายโปรเตสแตนต์ แต่ก็ต่างจากโปรเตสแตนต์สายอื่น ๆ เช่น ลูเทอแรน ในประเด็นต่าง ๆ เช่น พระเยซูในพิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์ หลักบังคับในการนมัสการ การบังคับใช้กฎของพระเจ้ากับคริสตชน การเรียกเทววิทยาสายนี้ว่า "ลัทธิคาลวิน" ค่อนข้างคลาดเคลื่อน เพราะในความเป็นจริง เป็นเทววิทยาที่มีแนวคิดหลากหลาย ไม่ได้จำกัดเฉพาะกับฌ็อง กาลแว็งผู้ก่อตั้งเพียงคนเดียว นักเทววิทยากลุ่มนี้ถูกฝ่ายลูเทอแรนเรียกว่า "ลัทธิคาลวิน" แต่ในภายในสายมักใช้คำว่า คณะปฏิรูป มากกว่า นับแต่มีการโต้แย้งอาร์มิเนียน ฝ่ายปฏิรูปก็แบ่งออกเป็นสองสาย คือ สายคาลวิน และ สายอาร์มิเนียน แต่ปัจจุบันมักใช้คำว่า คณะปฏิรูป ในเชิงไวพจน์กับลัทธิคาลวินมากกว่า นักเทววิทยาสายปฏิรูปที่มีบทบาทสำคัญในยุคต้น ๆ ได้แก่ ฌ็อง กาลแว็ง มาร์ทิน บูเคอร์ ไฮน์ริช บุลลิงเงอร์ และปีเอโตร มาร์ตีเร แวร์มิกลี จุดเด่นของลัทธิคาลวินมีอยู่ 5 ประเด็น ที่เป็นที่รู้จักที่สุดคือความเชื่อเรื่องเทวลิขิตและมนุษย์เสื่อมทรามโดยสิ้นเชิง ประเด็น 5 ข้อของลัทธิคาลวิน (5 Points of Calvinism; TULIP) ได้แก.

ฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนตและลัทธิคาลวิน · ลัทธิคาลวินและสงครามกลางเมืองอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายรูเพิร์ตแห่งไรน์

้าชายรูเพิร์ตแห่งไรน์ (Rupert, Count Palatine of the Rhine, Duke of Bavaria; Ruprecht Pfalzgraf bei Rhein, Herzog von Bayern หรือเรียกกันสั้น ๆ ว่า Prince Rupert of the Rhine; 17 ธันวาคม ค.ศ. 1619 - 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1682) ประสูติเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1619 ที่ปราก ราชอาณาจักรโบฮีเมีย (ในสาธารณรัฐเช็กปัจจุบัน) เป็นพระราชโอรสองค์รองของเฟรเดอริคที่ 5 เจ้าชายอีเล็คเตอร์แห่งพาเลไทน์และเอลิซาเบธ สจวต สมเด็จพระราชินีแห่งโบฮีเมีย และเป็นพระนัดดาของสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษผู้ที่พระราชทานบรรดาศักดิ์ให้พระองค์เป็นดยุกแห่งคัมบาลันด์ และเอิร์ลแห่งโฮลเดอร์เนส เจ้าชายรูเพิร์ตทรงเป็นนักการทหาร, นักประดิษฐ์ และศิลปินสมัครเล่นในการทำภาพพิมพ์มัชฌิมรงค์ (mezzotint) เจ้าชายรูเพิร์ตทรงเป็นทหารมาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ ทรงเริ่มด้วยการเข้าต่อสู้ต่อต้านสเปนในเนเธอร์แลนด์และในเยอรมนี เมื่อพระชนมายุได้ 23 พรรษาก็ทรงได้รับแต่งตั้งให้เป็นแม่ทัพผู้บังคับบัญชากองทหารม้าระหว่างสงครามกลางเมืองอังกฤษ แต่มาทรงพ่ายแพ้ในยุทธการเนสบีย์และทรงถูกขับจากเกาะอังกฤษ หลังจากนั้นก็ทรงเข้าร่วมกับฝ่ายกษัตริย์นิยมผู้ลี้ภัยอยู่ระยะหนี่ง ต่อมาก็ทรงไปเป็นโจรสลัดอยู่ในบริเวณคาริบเบียน หลังจากการฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษเจ้าชายรูเพิร์ตก็เสด็จกลับอังกฤษและได้รับตำแหน่งเป็นผู้บังคับบัญชาราชนาวี, นักประดิษฐ์, ศิลปิน และทรงเป็นข้าหลวงคนแรกของบริษัทฮัดสันเบย์ (Hudson's Bay Company) เจ้าชายรูเพิร์ตมิได้ทรงเสกสมรสแต่ทรงมีโอรสธิดานอกสมรสสองคน และสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1682 ที่เวสต์มินสเตอร์ในอังกฤษ.

ฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนตและเจ้าชายรูเพิร์ตแห่งไรน์ · สงครามกลางเมืองอังกฤษและเจ้าชายรูเพิร์ตแห่งไรน์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนตและสงครามกลางเมืองอังกฤษ

ฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนต มี 18 ความสัมพันธ์ขณะที่ สงครามกลางเมืองอังกฤษ มี 150 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 1.19% = 2 / (18 + 150)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนตและสงครามกลางเมืองอังกฤษ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »