โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พูนสวัสดิ์ ธีมากร

ดัชนี พูนสวัสดิ์ ธีมากร

ูนสวัสดิ์ ธีมากร (พ.ศ. 2471-พ.ศ. 2545) อดีตนักแสดงละครเวทีและภาพยนตร์ ที่มีความสามารถรอบด้าน นอกจากการแสดงแล้ว ยังเป็นผู้กำกับแสง ผู้กำกับภาพ ช่างถ่ายภาพ นักแสดงตั้งแต่ยุคละครเวทีคณะศิวารมย์ คณะอัศวินการละคร และเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการถ่ายภาพที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในฝีมือความสามารถระดับสากล.

97 ความสัมพันธ์: บัลลังก์เมฆบินแหลกชูศรี มีสมมนต์ชีวิตเพื่อฆ่า หัวใจเพื่อเธอช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีพ.ศ. 2471พ.ศ. 2500พ.ศ. 2504พ.ศ. 2506พ.ศ. 2507พ.ศ. 2508พ.ศ. 2509พ.ศ. 2510พ.ศ. 2511พ.ศ. 2512พ.ศ. 2513พ.ศ. 2514พ.ศ. 2515พ.ศ. 2516พ.ศ. 2518พ.ศ. 2519พ.ศ. 2523พ.ศ. 2524พ.ศ. 2525พ.ศ. 2526พ.ศ. 2527พ.ศ. 2528พ.ศ. 2529พ.ศ. 2530พ.ศ. 2531พ.ศ. 2532พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พ.ศ. 2535พ.ศ. 2536พ.ศ. 2537พ.ศ. 2538พ.ศ. 2539พ.ศ. 2540พ.ศ. 2541พ.ศ. 2542พ.ศ. 2543พ.ศ. 2544พ.ศ. 2545พระราชวังพญาไทพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพล นิกร กิมหงวนพ่อปลาไหลการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475...ฝัน บ้า คาราโอเกะภูตพิศวาสภูตแม่น้ำโขงมือปืน (ละครโทรทัศน์)รักประกาศิตรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2506ละครเร่ลูกบ้าเที่ยวล่าสุดวิมานมะพร้าววนาลีสุดแต่ใจจะไขว่คว้าสุนทรียา ณ เวียงกาญจน์สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3สง่า อารัมภีรหงส์เหนือมังกรอรรถพร ธีมากรอนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2ผู้ใหญ่ลีกับนางมาจันทโครพจำปูนทัดดาวบุษยาขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์)ขุนเดชดอกดิน กัญญามาลย์ความทรงจำใหม่ หัวใจเดิมความดันโลหิตสูงคือหัตถาครองพิภพคู่กรรมคณะราษฎรประเทศเคนยาปูลม (ละครโทรทัศน์ไทย)นเรศวรมหาราชแก้วกลางดงแม่นากพระโขนงแผ่นเสียงโทนโดดเดี่ยวไม่เดียวดายเพชรพระอุมาเพชรตัดเพชรเกาะสวาท หาดสวรรค์เกิดแต่ตมเก้าอี้ขาวในห้องแดงเรือนแพเลือดทหารไทยเทวดาเดินดิน (สตูดิโออัลบั้ม)เป็ดน้อย ขยายดัชนี (47 มากกว่า) »

บัลลังก์เมฆ

ัลลังก์เมฆ เป็นบทประพันธ์โดย วาณิช จรุงกิจอนันต์ และ ยุทธนา มุกดาสนิท ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์และละครเวทีมาแล้วหลายครั้งด้วยกัน โดยครั้งแรกสร้างเป็นละครโทรทัศน์ ในปี พ.ศ. 2536 ผลิตโดย บริษัท เอ็กแซ็กท์ จำกัด กำกับการแสดงโดย สุพล วิเชียรฉาย นำแสดงโดย ภัทราวดี มีชูธน, สมบัติ เมทะนี, สรพงษ์ ชาตรี, กรุง ศรีวิไล ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2536 – 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2536 ต่อมา บริษัท ซีเนริโอ จำกัด นำกลับมาสร้างเป็นละครเวที ในชื่อ "บัลลังก์เมฆ เดอะมิวสิคัล" กำกับโดย ถกลเกียรติ วีรวรรณ นำแสดงโดย สินจัย เปล่งพานิช, ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี, ภาณุเดช วัฒนสุชาติ, กลศ อัทธเสรี เปิดการแสดงแล้ว 3 ครั้ง ในปี..

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและบัลลังก์เมฆ · ดูเพิ่มเติม »

บินแหลก

บินแหลก เป็น ภาพยนตร์ไทย จาก ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น ออกฉายครั้งแรกในปี พ.ศ. 2538 นำแสดงโดย ศรัณยู วงษ์กระจ่าง และ รัชนก พูนผลิน โดยเนื้อเรื่องของภาพยนตร์เล่าถึงเรื่องราวฮาๆของเหล่าสจ๊วต กัปตัน และ แอร์โฮสเตส ของสายการบินแห่งหนึ่ง พร้อมกับเหล่าผู้โดยสารเจ้าปัญหาที่สร้างเรื่องป่วนๆไว้มากมายให้เหล่าพนักงานบนเครื่องต้องแก้ไข หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2538 หมวดหมู่:ภาพยนตร์ไทย.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและบินแหลก · ดูเพิ่มเติม »

ชูศรี มีสมมนต์

ูศรี มีสมมนต์ หรือ ชูศรี โรจนประดิษฐ์ (พ.ศ. 2472 - 4 ธันวาคม พ.ศ. 2535) เป็นดาราตลกหญิงอาวุโสที่มีชื่อเสียงรุ่นเดียวกับ ล้อต๊อก,ดอกดิน กัญญามาลย์,สมพงษ์ พงษ์มิตร,ท้วม ทรนง, พูนสวัสดิ์ ธีมากร, มาลี เวชประเสริฐ, สุลาลีวัลย์ สุวรรณทัต และ จุรี โอศิร.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและชูศรี มีสมมนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ชีวิตเพื่อฆ่า หัวใจเพื่อเธอ

ีวิตเพื่อฆ่า หัวใจเพื่อเธอ เป็นละครโทรทัศน์ไทย สร้างจากเค้าโครงเรื่องโดย นิพนธ์ ผิวเณร, ศุภชัย สิทธิอำพรพรรณ ถูกนำไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์ 2 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2541 (ช่อง 5) และ พ.ศ. 2560 (ช่องวัน).

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและชีวิตเพื่อฆ่า หัวใจเพื่อเธอ · ดูเพิ่มเติม »

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2471

ทธศักราช 2471 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1928 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2471 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2504 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2507

ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2509 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2511

ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2511 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2512 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2513

ทธศักราช 2513 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1970 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2513 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2527

ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2527 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2536 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังพญาไท

ระราชวังพญาไท หรือ วังพญาไท ตั้งอยู่ที่ริมคลองสามเสน ถนนราชวิถี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น พระราชทานนามให้ว่า "พระตำหนักพญาไท" หรือ "วังพญาไท" ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็นพระราชวังพญาไทในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพระราชวังพญาไท · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน

นายพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน หรือ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร (23 มกราคม พ.ศ. 2424 - 14 กันยายน พ.ศ. 2479) พระบิดาแห่งกิจการวิทยุกระจายเสียงไทย พระบิดาแห่งการรถไฟไทย พระบิดาแห่งการท่องเที่ยวไทย และ พระบิดาแห่งโรตารีไท.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล

ลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล หรือ พระองค์ชายใหญ่ (27 พฤศจิกายน 2453 - 5 กุมภาพันธ์ 2538) เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล และเป็นพระอัยกา(ตา)ในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ทรงเป็นผู้อำนวยการสร้าง ผู้กำกับละครและภาพยนตร์ รวมทั้งทรงพระนิพนธ์เรื่องและคำร้องเพลงประกอบหลายเรื่อง และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งธนาคารไทยทนุ เมื่อปี..

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

พล นิกร กิมหงวน

ล นิกร กิมหงวน สามเกลอเปลี่ยนทางมาที่นี่ ความหมายอื่นดูที่ สามเกลอ (แก้ความกำกวม) พล นิกร กิมหงวน หรือ สามเกลอ เป็นหัสนิยาย ประพันธ์โดย ป. อินทรปาลิต ที่จัดพิมพ์อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2482-2511 มีมากมายเกินกว่าพันตอน (ตอนแรกคือตอน อายผู้หญิง) เนื้อหาออกไปในแนวสนุกสนานครื้นเครง มีการหยอกล้อกันไปมา จัดเป็นหนึ่งในหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน นอกจากรูปแบบหนังสือแล้ว พล นิกร กิมหงวน ยังเคยทำเป็นภาพยนตร์ออกฉายอีกด้วย รวมทั้งละครโทรทัศน์ อีกด้ว.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพล นิกร กิมหงวน · ดูเพิ่มเติม »

พ่อปลาไหล

อปลาไหล เป็นนิยายตลก บทประพันธ์ของ กนกเรขา หรือ ทมยันตี ที่ตีพิมพ์ในนิตยสารสกุลไทย เป็นเรื่องราวของอุลิต ชายจอมเจ้าชู้ทีขึ้นชื่อว่า พ่อปลาไหล และ จันทนี ลูกสาวของขุนรอน ผู้หาญอาสากล้าแต่งงานเพื่อปราบพ่อปลาไหลอย่างอุลิต ในขณะที่หลวงณรงค์สงครามชัย พ่อของอุลิต ก็คิดจะเคลม น้าเพ็ญ น้องเมียของตนเอง หลังจากที่อุลิตแต่งงานแล้ว กลับหาช่องทางวางแผนที่จะหนีเที่ยวอยู่เรื่อยๆ โดยมีขุนรอนผู้เป็นพ่อตาของอุลิตและเป็นพ่อของจันทนี มาเป็นคู่หูร่วมด้วย พ่อปลาไหล ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์หลายครั้ง ภาพยนตร์ฉบับที่มีชื่อเสียงที่สุด กำกับโดยเชิด ทรงศรี ออกฉายเมื่อ พ.ศ. 2515 เป็นภาพยนตร์ 16 มม.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและพ่อปลาไหล · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475

การปฏิวัติสยาม..

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

ฝัน บ้า คาราโอเกะ

ฝัน บ้า คาราโอเกะ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและฝัน บ้า คาราโอเกะ · ดูเพิ่มเติม »

ภูตพิศวาส

ูตพิศวาส เป็นบทประพันธ์ของ รพีพร (สุวัฒน์ วรดิลก) แนวภูตผีปีศาจ เป็นเรื่องความรักระหว่างคนกับวิญญาณสาว ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์มาแล้วมากมาย เป็นภาพยนตร์ 3 ครั้ง (พ.ศ. 2507, พ.ศ. 2523, พ.ศ. 2538) และละครโทรทัศน์ 5 ครั้ง (พ.ศ. 2523, พ.ศ. 2525, พ.ศ. 2538, พ.ศ. 2547, พ.ศ. 2561).

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและภูตพิศวาส · ดูเพิ่มเติม »

ภูตแม่น้ำโขง

ูตแม่น้ำโขง เป็นละครโทรทัศน์ไทย ที่สร้างมาจากนวนิยายชื่อเดียวกันของ สิทธา เชตวัน ซึ่งได้จรูญ ธรรมศิลป์ ทำหน้าที่เป็นผู้กำกับ เขียนบทโทรทัศน์ ลุลินารถ สุนทรพฤกษ์ และดาราวิดีโอเป็นผู้ผลิต เผยแพร่ทุกจันทร์-อังคาร ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ตั้งแต่วันที่ 28 ธันวาคม 2535 - 2 มีนาคม 2536 ต่อมาในปีพ.ศ. 2551 สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ได้นำกลับมาสร้างใหม่อีกครั้ง ซึ่งคราวนี้ได้สำรวย รักชาติ เขียนบทโทรทัศน์ เศียม สุขสวัสดิ์ และ ดาราวีดีโอเป็นผู้ผลิตอีกครั้ง เผยแพร่ทุกวันศุกร์-เสาร์-อาทิตย์ ตั้งแต่วันที่ 4 ตุลาคม 2551 - 7 พฤศจิกายน 2551 ผู้บริหารค่ายดาราวีดีโอ.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและภูตแม่น้ำโขง · ดูเพิ่มเติม »

มือปืน (ละครโทรทัศน์)

มือปืน เป็นบทประพันธ์ของ หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์โดย บริษัท ซันไชน์ เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและมือปืน (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

รักประกาศิต

รักประกาศิต เป็นนวนิยายเรื่องแรกในนามของ ก. สุรางคนางค์ ตีพิมพ์ครั้งแรกประมาณปี พ.ศ. 2509 เคยถูกสร้างเป็นภาพยนตร์ในปี 2523 ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ สาขานักแสดงสนับสนุนหญิง ในปี..

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและรักประกาศิต · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2506

การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี..

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

ละครเร่

ละครเร่ ภาพยนตร์ไทยประกอบเพลง แนวดราม่า ระบบ 35 มม.อัศวินซูเปอร์ซีเนสโคป สีอัศวินอิสต์แมน เสียง(พากย์)ในฟิล์ม ของ อัศวินภาพยนตร์ บทพระนิพนธ์และกำกับโดย ภาณุพันธ์ หรือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล บทภาพยนตร์โดย เวตาล ฉายที่โรงภาพยนตร์เฉลิมเขตร์ เมื่อ..

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและละครเร่ · ดูเพิ่มเติม »

ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด

ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด เป็น ภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2536 กำกับภาพยนตร์โดย อิทธิสุนทร วิชัยลักษณ์ อำนวยการสร้างโดยบริษัท ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น ภาพยนตร์นำเสนอด้วยแนวทางตลก เนื้อหาพูดถึงความกล้าในการทำสิ่งที่ถูกต้อง การใช้เวลาในชีวิตอย่างมีค่า และสะท้อนภาพสังคมที่ผู้คนมักจำยอมกับความเลวร้ายที่คุ้นเคย ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับรางวัล ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม, ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม, บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม และ ลำดับภาพยอดเยี่ยม จาก ชมรมวิจารณ์บันเทิง ประจำปี 2536 นำแสดงโดย สัญญา คุณากร, อังคณา ทิมดี, ชไมพร สิทธิวรนันท์, กลศ อัทธเสรี, อรุณ ภาวิไล.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและลูกบ้าเที่ยวล่าสุด · ดูเพิ่มเติม »

วิมานมะพร้าว

วิมานมะพร้าว เป็นบทประพันธ์ของแก้วเก้า ถูกสร้างครั้งแรกในรูปแบบภาพยนตร์เมื่อปี พ.ศ. 2534 ผลิตโดยกันตนา นำแสดงโดยสิเรียม ภักดีดำรงฤทธิ์ และศตวรรษ ดุลยวิจิตร ต่อมาถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ไทยเมื่อปี พ.ศ. 2537 ผลิตโดยดาราวิดีโอ นำแสดงโดยศตวรรษ ดุลยวิจิตร และชฎาพร รัตนากร ออกอากาศเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2537 ถึง 9 ตุลาคม 2537 ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 และนำกลับมาสร้างใหม่อีกครั้งปี..

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและวิมานมะพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

วนาลี

วนาลี เป็นนวนิยายไทยแนวรัก บทประพันธ์ของ สราญจิตต์ ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2498 และต่อมาอีกหลายครั้ง ครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2553 สำนักพิมพ์แสงดาว ได้นำมาตีพิมพ์ใหม่ เป็นเล่มปกอ่อน วนาลี ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2502 นำแสดงโดย เกศริน ปัทมวรรณ และ อาคม มกรานนท์ ครั้งที่สองในปี พ.ศ. 2529 นำแสดงโดย พิม วัฒนพานิช และ ไพโรจน์ สังวริบุตร ซึ่งประสบความสำเร็จอย่างสูง ต่อมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์อีก 2 ครั้ง ทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2533 นำแสดงโดย ศรัณยู วงศ์กระจ่าง และ ลลิตา ปัญโญภาส ประสบความสำเร็จอย่างสูงเช่นกัน และครั้งที่สองในปี พ.ศ. 2554 นำแสดงโดย ณัฐวุฒิ สกิดใจ และ ลักษณ์นารา เปี้ยท.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและวนาลี · ดูเพิ่มเติม »

สุดแต่ใจจะไขว่คว้า

แต่ใจจะไขว่คว้า เป็นละครโทรทัศน์ไทยแนวสะท้อนชีวิต สร้างสรรค์สังคม ที่สร้างจากบทประพันธ์ของ โบตั๋น ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2529 เริ่มสร้างครั้งแรกในปี พ.ศ. 2532 โดยสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 นำแสดงโดย เสกสรร ชัยเจริญ รอน บรรจงสร้าง ชุดาภา จันทเขตต์ ก้ามปู สุวรรณปัทม์ อารดา ศรีสร้อยแก้ว สะอาด เปี่ยมพงษ์สานต์ พิศมัย วิไลศักดิ์ แต่งเพลงนำละครโดย เทียรี่ เมฆวัฒนา และ สมหวัง อนุศักดิ์เสถียร ซึ่งจากนี้เองได้รับรางวัลเมขลา และ โทรทัศน์ทองคำ สาขาเพลงนำละครดีเด่น และละครสร้างสรรค์สังคมดีเด่น ต่อมามีการสร้างละครโทรทัศน์อีกในปี พ.ศ. 2540 และ พ.ศ. 2551 โดยออกอากาศทางช่องเดิม และใช้เพลงนำละครมาแต่เดิม เพียงเปลี่ยนผู้ร้อง และสร้างเป็นละครโทรทัศน์อีกครั้งในปี 2558 ออกอากาศทางช่อง 8.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและสุดแต่ใจจะไขว่คว้า · ดูเพิ่มเติม »

สุนทรียา ณ เวียงกาญจน์

กียรติพงศ์ กาญจนภี (22 กันยายน พ.ศ. 2469 - 30 กันยายน พ.ศ. 2557) เป็นชื่อจริงของ สุนทรียา ณ เวียงกาญจน์ ผู้ประพันธ์คำร้องเพลงไทยสากลที่มีชื่อเสียง ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยสากล - ผู้ประพันธ์)..

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและสุนทรียา ณ เวียงกาญจน์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

นีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (Royal Thai Army Radio and Television; ชื่อย่อ: ททบ.) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) ของกองทัพบกไทย และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่สองของประเทศไทย เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 25 มกราคม..

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

สง่า อารัมภีร

ง่า อารัมภีร สง่า อารัมภีร หรือ ครูแจ๋ว (แจ๋ว วรจักร์) (11 ธันวาคม พ.ศ. 2464 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2542) เป็นนักเขียนและศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล) เมื่อ..

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและสง่า อารัมภีร · ดูเพิ่มเติม »

หงส์เหนือมังกร

หงส์เหนือมังกร (พ.ศ. 2543) หงส์เหนือมังกร (พ.ศ. 2561) หงส์เหนือมังกร เป็นนวนิยายไทยของวิศวนาถ ถูกนำไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์ ออกอากาศทางช่อง 5 เมื่อปี พ.ศ. 2543 นำแสดงโดย นพพล โกมารชุน, มาช่า วัฒนพานิช, และ ศักดิ์สิทธิ์ แท่งทอง ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2543 - 28 เมษายน พ.ศ. 2543 โดยมีภาคต่อชื่อว่า มังกรเดียวดาย ในปี พ.ศ. 2547 และในปี พ.ศ. 2560 ทางช่อง 7 นำบทประพันธ์มาสร้างในรูปแบบละครโทรทัศน์อีกครั้ง นำแสดงโดย กฤตฤทธิ์ บุตรพรม, เมลดา สุศรี, อาทิตย์ ตั้งวิบูลย์พาณิชย์ ชยพล บุนนาค โดยจะเริ่มออกอากาศตอนแรกวันอังคารที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560-16 มกราคม พ.ศ. 2561 ต่อจากละครนายฮ้อยทมิฬ.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและหงส์เหนือมังกร · ดูเพิ่มเติม »

อรรถพร ธีมากร

อรรถพร ธีมากร (หนุ่ม) เกิดวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2516 เป็นนักแสดง นักร้อง นักดนตรี พิธีกร และผู้กำกับละคร บุตรของนายพูลสวัสดิ์ ธีมากร นักแสดงอาวุโส เข้าสู่วงการบันเทิงหลังไปออกรายการ จันทร์กะพริบ กับคุณพ่อ โดยเล่นละครเรื่อง "รุ่นหนึ่งตึกห้าหน้าเดิน" เป็นเรื่องแรก ต่อมามีผลงานแสดงละครและภาพยนตร์อีกหลายเรื่อง โดยผลงานภาพยนตร์สร้างชื่อ คือ 2499 อันธพาลครองเมือง และยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลผู้แสดงนำชายยอดเยี่ยมจากภาพยนตร์เรื่อง เดอะ เลตเตอร์ จดหมายรัก ในการประกาศรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ประจำปี 2547 มีเพื่อนสนิทในวงการ คือ "กัปตัน" ภูธเนศ หงษ์มานพ และ "ติ๊ก" เจษฎาภรณ์ ผลดี ด้านการศึกษาและชีวิตส่วนตัว จบบริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น สมรสกับ อริญรดา ปิติมารัชต์ มีบุตรชาย 2 คน ชื่อ อันดาและอดัม.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและอรรถพร ธีมากร · ดูเพิ่มเติม »

อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2

อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2 เป็นภาพยนตร์ไทยแนววัยรุ่นจาก ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น กำกับและอำนวยการสร้างโดย บัณฑิต ฤทธิ์ถกลซึ่งเนื้อเรื่องในภาคนี้ยังอยู่ใน โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย เป็นภาพยนตร์เรื่องแรกของ โดม ปกรณ์ ลัม ที่ตอนนี้ถูกนำมารีมาสเตอร์ใหม่ภายใต้บริษัทบีเคพีร่วมกับไฟว์สตาร์ในโปรเจกต์ The Legend Collection.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและอนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2 · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ใหญ่ลีกับนางมา

ผู้ใหญ่ลีกับนางมา เป็นนวนิยายของ กาญจนา นาคนันทน์ ที่แต่งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและผู้ใหญ่ลีกับนางมา · ดูเพิ่มเติม »

จันทโครพ

ันทโครพ เป็นตัวเอกในนิทานเรื่องจันโครพ มีฐานะเป็นเจ้าชาย ถูกโจรป่าทำร้ายระหว่างการเดินทางกลับเมือง เหตุเพราะไม่เชื่อฟังคำสั่งของอาจาร.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและจันทโครพ · ดูเพิ่มเติม »

จำปูน

ำปูน เป็นพรรณไม้ดอกชนิดหนึ่ง มีกลิ่นหอมหวาน ดอกมีขนาดเล็ก กลีบหนา อูม ดอกมีลักษณะคล้ายดอกบัวตูม ชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Anaxagorea javanica Blume.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและจำปูน · ดูเพิ่มเติม »

ทัดดาวบุษยา

ทัดดาวบุษยา และ ทัดดาว - ยอดขวัญ เป็นบทประพันธ์ของ ชอุ่ม ปัญจพรรค์ เคยพิมพ์รวมเล่มมาแล้วหลายครั้ง เช่น สำนักพิมพ์ผดุงศึกษา ฯลฯ เป็นเรื่องราวของทัดดาว หญิงสาวที่โตมาโดยที่แม่พร่ำสอนให้เธอเกลียดพ่อ และทุกคนในบ้านบุษยา ชะตาชีวิตของเธอหักเหเมื่อแม่ของเธอติดหนีการพนันทำให้เธอต้องแต่งงานกับชายรุ่นราวคราวพ่อ เรื่องวุ่นวายจึงเกิดขึ้นเมื่อทัดดาวหนีการแต่งงาน ทัดดาวรู้ความจริงว่าพ่อของเธอเสียชีวิตเธอจึงตั้งใจจะไปทวงสิทธิ์อันชอบธรรมของเธอคืนในบ้านบุษยาเธอต้องเดินทางไปกับเจ้ายอดขวัญผู้ชายที่เธอเกลียดและตราหน้าเธอเป็นผู้หญิงชั้นต่ำ จากความเกลียดกลายเป็นความผูกพัน จากความผูกพันกลายเปลี่ยนเป็นความรักในที่สุด ทัดดาวบุษยา ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์แล้วหลายครั้ง โดยครั้งแรก ในรูปแบบภาพยนตร์นำแสดงโดย เกศริน ปัทมวรรณ กับ ฤทธี นฤบาล ออกฉายเมื่อปี 2503 นำมาสร้างเป็นภาพยนตร์อีกครั้งในปี 2524 นำแสดงโดย เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์ กับ จตุพล ภูอภิรมย์ และต่อมาถูกนำมาสร้างเป็นละครครั้งแรก ในปี 2519 ทางช่อง 9 (ภิญโญ ทองเจือ กับ กรรณิกา ธรรมเกษร) ในปี 2530 ทางช่อง 5 (ยุรนันท์ ภมรมนตรี กับ อาภาพร กรทิพย์) ในปี 2540 ทางช่อง 7 (เอกรัตน์ สารสุข กับ สุวนันท์ คงยิ่ง) ในปี 2547 ทางช่อง 5 (ณัฐพล เดชะปัญญา กับ มนัสนันท์ พันเลิศวงศ์สกุล) ในปี 2553 ทางช่อง 3 (ทฤษฎี สหวงษ์ กับ วรกาญจน์ โรจนวัชร).

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและทัดดาวบุษยา · ดูเพิ่มเติม »

ขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์)

นวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์) (7 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2523) ผู้สร้างหนัง ผู้กำกับภาพยนตร์ไทย ผู้ประพันธ์เพลงต่างๆ หลายเพลง ซึ่งรวมถึงเนื้อร้องเพลงชาติไทยฉบับแรกสุดในปี พ.ศ. 2475 และเป็นผู้แต่งหนังสือต่างๆ หลายเรื่อง เช่น หลักไทย ภูมิศาสตร์สุนทรภู่ เป็นต้น นับได้ว่าเป็นนักคิด นักค้นคว้า และนักเขียนสำคัญคนหนึ่งของ ยุครัตนโกสินทร.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์) · ดูเพิ่มเติม »

ขุนเดช

นเดช เป็นบทประพันธ์ของ สุจิตต์ วงษ์เทศ ในปี พ.ศ. 2512 เป็นการรวมเรื่องสั้น เคยสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์มาแล้วรวม 3 ครั้ง และในครั้งที่ 3 ถูกสร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและขุนเดช · ดูเพิ่มเติม »

ดอกดิน กัญญามาลย์

นกน้อย (2507) เป็นภาพยนตร์เรื่องแรกที่รายได้เกินหนึ่งล้านบาท ดอกดิน กัญญามาลย์ (25 ตุลาคม พ.ศ. 2467 - 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2561) ชื่อเล่น ดินนักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้สร้างภาพยนตร์ ได้รับการเชิดชูเกียรติรางวัลนราธิปประจำปี..

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและดอกดิน กัญญามาลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ความทรงจำใหม่ หัวใจเดิม

วามทรงจำใหม่ หัวใจเดิม เป็นละครโทรทัศน์ไทย เค้าโครงบทประพันธ์เรื่องมาจาก อิสริยะ จารุพันธ์, ณัฐิยา ศิรกรวิไล บทโทรทัศน์โดย ณัฐิยา ศิรกรวิไล, ศุภชัย สิทธิอำพรพรรณ กำกับการแสดงโดย อิสริยะ จารุพันธ์ ผลิตโดย บริษัท เอ็กแซ็กท์ จำกัด และ บริษัท แกรมมี่ เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) นำแสดงโดย ธงไชย แมคอินไตย์, คัทลียา แมคอินทอช ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ทุกวันจันทร์-พฤหัสบดี เวลา 20:25-21:25 น. เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541-6 ธันวาคม พ.ศ. 2541 ละครพิเศษเพื่อเป็นของขวัญให้กับแฟนเพลงของเบิร์ด ธงไชย แมคอินไตย์ ช่วงอัลบั้ม ธงไชย เซอร์วิส จำนวน 9 ตอน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและความทรงจำใหม่ หัวใจเดิม · ดูเพิ่มเติม »

ความดันโลหิตสูง

รคความดันโลหิตสูง (hypertension) เป็นโรคเรื้อรังชนิดหนึ่งที่ผู้ป่วยมีความดันเลือดในหลอดเลือดแดงสูงกว่าปกติตลอดเวลา ความดันเลือดประกอบด้วยสองค่า ได้แก่ ความดันช่วงหัวใจบีบและความดันช่วงหัวใจคลาย ซึ่งเป็นความดันสูงสุดและต่ำสุดในระบบหลอดเลือดแดงตามลำดับ ความดันช่วงหัวใจบีบเกิดเมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัวมากที่สุด ความดันช่วงหัวใจคลายเกิดเมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายคลายตัวมากที่สุดก่อนการบีบตัวครั้งถัดไป ความดันเลือดปกติขณะพักอยู่ในช่วง 100–140 มิลลิเมตรปรอทในช่วงหัวใจบีบ และ 60–90 มิลลิเมตรปรอทในช่วงหัวใจคลาย ความดันโลหิตสูงหมายถึง ความดันเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 มิลลิเมตรปรอทตลอดเวลา ส่วนในเด็กจะใช้ตัวเลขต่างไป ปกติความดันโลหิตสูงไม่ก่อให้เกิดอาการในทีแรก แต่ความดันโลหิตสูงต่อเนื่องเมื่อผ่านไปเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญของโรคหัวใจเหตุความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ท่อเลือดแดงโป่งพอง โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย และโรคไตเรื้อรัง ความดันโลหิตสูงแบ่งออกเป็นความดันโลหิตสูงปฐมภูมิ (ไม่ทราบสาเหตุ) และความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิ ผู้ป่วยส่วนใหญ่ราวร้อยละ 90–95 จัดเป็นความดันโลหิตสูงปฐมภูมิ หมายถึงมีความดันโลหิตสูงโดยไม่มีเหตุพื้นเดิมชัดเจน ที่เหลืออีกร้อยละ 5–10 จัดเป็นความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิมักมีสาเหตุที่สามารถบอกได้ เช่น โรคไตเรื้อรัง ท่อเลือดแดงหรือหลอดเลือดแดงไตตีบแคบ หรือโรคของต่อมไร้ท่อ เช่น แอลโดสเตอโรน คอร์ติซอลหรือแคทิโคลามีนเกิน อาหารและการเปลี่ยนวิถีชีวิตสามารถช่วยควบคุมความดันเลือดและลดความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนต่อสุขภาพ แม้การรักษาด้วยยายังมักจำเป็นในผู้ที่การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตยังไม่พอหรือไม่ได้ผล การรักษาความดันในหลอดเลือดแดงสูงปานกลาง (นิยามเป็น >160/100 มิลลิเมตรปรอท) ด้วยยาสัมพันธ์กับการคาดหมายคงชีพที่เพิ่มขึ้น ประโยชน์ของการรักษาความดันเลือดระหว่าง 140/90 ถึง 160/100 มิลลิเมตรปรอทไม่ค่อยชัดเจน บางบทปริทัศน์ว่าไม่มีประโยชน์ แต่บ้างก็ว่ามี.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและความดันโลหิตสูง · ดูเพิ่มเติม »

คือหัตถาครองพิภพ

ือหัตถาครองพิภพ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและคือหัตถาครองพิภพ · ดูเพิ่มเติม »

คู่กรรม

ู่กรรม เป็นนวนิยายแนวโศกนาฏกรรมและวีรคติ ประพันธ์โดย ทมยันตี ดำเนินเรื่องที่มีฉากหลังในประเทศไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยผู้ประพันธ์ได้รับแรงบันดาลใจเมื่อราวปี..

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและคู่กรรม · ดูเพิ่มเติม »

คณะราษฎร

ณะราษฎร (อ่านว่า "คะ-นะ-ราด-สะ-ดอน"; มักสะกดผิดเป็น คณะราษฎร์) คือ กลุ่มบุคคลที่ดำเนินการการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ยึดอำนาจจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของประเทศสยาม จากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ อาจได้ชื่อว่าเป็นพรรคการเมืองพรรคแรกของไท.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและคณะราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเคนยา

นยา (อังกฤษและKenya) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเคนยา (Republic of Kenya; Jamhuri ya Kenya) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออก มีอาณาเขตจรดประเทศเอธิโอเปีย (ทางเหนือ) ประเทศโซมาเลีย (ทางตะวันออกเฉียงเหนือ) ประเทศแทนซาเนีย (ทางใต้) ประเทศยูกันดา (ทางตะวันตก) ประเทศเซาท์ซูดานและทะเลสาบวิกตอเรีย (ทางตะวันตกเฉียงเหนือ) และมหาสมุทรอินเดีย มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดคือ ไนโรบี.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและประเทศเคนยา · ดูเพิ่มเติม »

ปูลม (ละครโทรทัศน์ไทย)

ปูลม เป็นละครโทรทัศน์แนวโรแมนติก-ดราม่า บทประพันธ์ของ สิริมา อภิจารัน บทโทรทัศน์โดย มารยาท กำกับการแสดงโดย อดุลย์ ดุลยรัตน์ ผลิตโดย ไฟว์สตาร์โปรดักชั่น ออกอากาศทุกวันจันทร์–ศุกร์ เวลา 13.30 - 15.00 น. ทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 นำแสดงโดย ศรัณย์ สาครสิน, ชไมพร สิทธิวรนันท์ และนักแสดงชั้นนำอีกมากมาย เริ่มตอนแรกวันที่ พ.ศ. 2538– พ.ศ. 2538.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและปูลม (ละครโทรทัศน์ไทย) · ดูเพิ่มเติม »

นเรศวรมหาราช

นเรศวรมหาราช เป็นภาพยนตร์ไทยเรื่องยิ่งใหญ่ เมื่อปี พ.ศ. 2500 โดย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล แห่งอัศวินภาพยนตร์ แนวสงครามอิงประวัติศาสตร์ การกอบกู้เอกราชของไทยจากพม่า นำแสดงโดย ชูชัย พระขรรค์ชัย,รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง,ถนอม อัครเศรณี,สุรชัย ลูกสุรินทร์,พจนีย์ โปร่งมณี ร่วมด้วย สถาพร มุดาประกร,สมถวิล มุกดาประกร,ทัต เอกทัต,วงจันทร์ ไพโรจน์,ชูศรี โรจนประดิษฐ์,ดอกดิน กัญญามาลย์,ล้อต๊อก,สมพงษ์ พงษ์มิตร,พูนสวัสดิ์ ธีมากร ฯลฯ ฉายเมื่อวันที่ 4 มกราคม..

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

แก้วกลางดง

นตร์ แก้วกลางดง แก้วกลางดง เป็นนวนิยายจากบทประพันธ์ของ "ทมยันตี" ที่นำเสนอเรื่องราวของ "เมียวดี" เด็กสาวชาวเขา ไร้เดียงสา ที่เรียนรู้ประสบการณ์ชีวิตด้วยตนเองเพื่อความอยู่รอด มีความจริงใจต่อเพื่อนมนุษย์และธรรมชาติ เปรียบเสมือนแก้วกลางดง จนเป็นที่หมายปองของ ทรงเผ่า หนุ่มชาวกรุงที่คอยช่วยเหลือเมียวดีจนครองรักกัน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและแก้วกลางดง · ดูเพิ่มเติม »

แม่นากพระโขนง

ลแม่นากพระโขนง ในวัดมหาบุศย์ ซอยสุขุมวิท 77 (ถนนอ่อนนุช) ซึ่งปัจจุบันตั้งอยู่ในเขตสวนหลวงมิใช่เขตพระโขนง แม่นากโขนง หรือมักเรียกสั้น ๆ ว่า แม่นาก (โดยมากสะกดด้วย ค.ควาย) เป็นผีตายทั้งกลมที่เป็นที่รู้จักกันดีของไทย เชื่อกันว่าเรื่องนี้เกิดขึ้นจริงในสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ปัจจุบันมีศาลแม่นากตั้งอยู่ที่วัดมหาบุศย์ ซอยสุขุมวิท 77 (ถนนอ่อนนุช) เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและแม่นากพระโขนง · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นเสียง

แผ่นเสียง คือวัสดุที่ก่อให้เกิดเสียง ทำจากวัสดุหลายชนิดและขน.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและแผ่นเสียง · ดูเพิ่มเติม »

โทน

ทนชาตรี โทนมโหรีกับรำมะนา โทน เป็นชื่อของเครื่องหนัง ที่ขึงหนังหน้าเดียว มีสายโยงเร่งเสียงจากขอบหนังถึงคอ มีหางยื่นออกไปและบานปลาย มีชื่อเรียกคู่กันว่า โทนทับ โดยลักษณะรูปร่างนั้น โทนมีชื่อเรียกกันได้ตามรูปร่างที่ปรากฏ 2 ชนิดคือ โทนชาตรี และ โทนมโหรี โทนชาตรีนั้น ตัวโทนทำด้วยไม้ขนุน ไม้สัก หรือ ไม้กะท้อนมีขนาดปากกว้าง 17 ซม ยาวประมาณ 34 ซม มีสายโยงเร่งเสียงใช้หนังเรียด ตีด้วยมือข้างหนึ่ง ส่วนอีกมือหนึ่งคอยปิดเปิด ปลายหางที่เป็นปากลำโพง ช่วยให้เกิดเสียงต่างๆ ใช้สำหรับ บรรเลงประกอบการแสดงละครชาตรี และหนังตะลุง และตีประกอบจังหวะในวงปี่พาทย์ หรือวงเครื่องสาย หรือวงมโหรีที่เล่นเพลงภาษาเขมร หรือ ตะลุง ส่วนโทนมโหรีนั้น ตัวโทนทำด้วยดินเผา ด้านที่ขึงหนังโตกว่า โทนชาตรี ขนาดหน้ากว้างประะมาณ 22 ซม ยาวประมาณ 38 ซม สายโยงเร่งเสียงใช้หวายผ่าเหลาเป็นเส้นเล็กหรือใช้ไหมฟั่นเป็นเกลียว ขึ้นหนังด้วยหนังลูกวัว หนังแพะ หนังงูเหลือม หรือหนังงูงวงช้าง ใช้สำหรับบรรเลงคู่กับรำมะนา โดยตีขัดสอดสลับกัน ตามจังหวะหน้าทั.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและโทน · ดูเพิ่มเติม »

โดดเดี่ยวไม่เดียวดาย

ี่ยวไม่เดียวดาย เป็นละครแนวคอมเมดี้-ดราม่า จากค่าย เอ็กแซ็กท์ สร้างจากเค้าโครงเรื่องของ อิสริยะ จารุพันธ์, ทองขาว ทวีปรังษีนุกูล บทโทรทัศน์ ทองขาว ทวีปรังษีนุกูล กำกับการแสดงโดย อิสริยะ จารุพันธ์ ออกอากาศวันศุกร์-วันเสาร์-วันอาทิตย์ ในปี พ.ศ. 2542 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 5 นักแสดงนำ เกริกพล มัสยวานิช, พิยดา อัครเศรณี, เอกชัย เอื้อสังคมเศรษ.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและโดดเดี่ยวไม่เดียวดาย · ดูเพิ่มเติม »

เพชรพระอุมา

รพระอุมา เป็นนวนิยายแนวผจญภัยที่มีขนาดความยาวมากที่สุดในประเทศไทย และนับว่าเป็นนวนิยายที่มีความยาวมากที่สุดในโลกรักษ์ชนก นามทอน, เจาะลึกเบื้องหลังเพชรพระอุมา คำนิยมจากบรรณาธิการ, สำนักพิมพ์ ณ บ้านวรรณกรรม, 2544 บทประพันธ์โดย พนมเทียน ซึ่งเป็นนามปากกาของนายฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ ตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในหนังสือพิมพ์รายสัปดาห์ และตีพิมพ์ต่อเนื่องในหนังสือพิมพ์รายวัน ใช้ระยะเวลาในการประพันธ์ยาวนานกว่า 25 ปี โดยพนมเทียนเริ่มต้นการประพันธ์เพชรพระอุมาในวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2507 และสิ้นสุดเนื้อเรื่องทั้งหมดในวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2533 รวมระยะเวลาในการประพันธ์ทั้งสิ้น 25 ปี 7 เดือน กับ 2 วัน เพชรพระอุมาถูกนำมาตีพิมพ์ฉบับรวมเล่มซ้ำใหม่หลาย ๆ ครั้งในรูปแบบของพ็อกเก็ตบุ๊ค จำนวน 48 เล่ม โดยสำนักพิมพ์ ณ บ้านวรรณกรรม ลิขสิทธิ์โดยพนมเทียน (เดิมเป็นชนิดปกแข็งจำนวน 53 เล่ม แต่ละเล่มมีความหนาประมาณ 33 ยก หรือ 16 หน้ายก และเมื่อนำมารวมกันทั้งหมดจะมีความหนาประมาณ 1,749 ยก แบ่งเป็นสามภาคได้แก่ ภาคแรก จำนวน 24 เล่ม ภาคสอง จำนวน 15 เล่ม และ ภาคสาม จำนวน 14 เล่ม แต่ปัจจุบันได้รวบรวมเนื้อหาในแต่ละภาคและลดลงคงเหลือเพียงแค่ 48 เล่ม) แบ่งเป็นสองภาคคือภาคแรก จำนวน 24 เล่ม 6 ตอน และภาคสมบูรณ์ จำนวน 24 เล่ม 6 ตอน ตีพิมพ์ฉบับรวมเล่มครั้งแรกในปี พ.ศ. 2538 ครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2541 และทำการปรับปรุงต้นฉบับเดิมพร้อมกับตีพิมพ์ครั้งที่ 3 ในปี พ.ศ. 2544 และตีพิมพ์ครั้งที่ 4 ซึ่งเป็นครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2547 อีกทั้งยังมีการทำเป็น eBook โดยสำนักพิมพ์อมรินทร์ในปี พ.ศ. 2556 โดยเนื้อเรื่องต่าง ๆ ของเพชรพระอุมานั้น พนมเทียนได้นำเค้าโครงเรื่องมาจาก คิง โซโลมอน'ส มายน์ส (King Solomon's Mines) หรือ สมบัติพระศุลี นวนิยายของเซอร์เฮนรี่ ไรเดอร์ แฮกการ์ด (H. Rider Haggard) ที่ผจญภัยในความลี้ลับของป่าดงดิบภายในทวีปแอฟริกาพนมเทียน, เจาะลึกเบื้องหลังเพชรพระอุมา เค้าโครงเรื่องจากคิง โซโลมอน'ส มายน์ส (King Solomon's Mines), สำนักพิมพ์ ณ บ้านวรรณกรรม, 2546 หน้า 11.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและเพชรพระอุมา · ดูเพิ่มเติม »

เพชรตัดเพชร

รตัดเพชร เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและเพชรตัดเพชร · ดูเพิ่มเติม »

เกาะสวาท หาดสวรรค์

กาะสวาทหาดสวรรค์ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและเกาะสวาท หาดสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

เกิดแต่ตม

กิดแต่ตม เป็นบทประพันธ์ของ โบตั๋น ถูกนำไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 โดยค่ายดาราวิดีโอ และกำกับการแสดงโดยมานพ สัมมาบัติ ออกอากาศก่อนข่าว ปี พ.ศ. 2548.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและเกิดแต่ตม · ดูเพิ่มเติม »

เก้าอี้ขาวในห้องแดง

นวนิยายที่มีชื่อเสียงที่สุดเรื่องหนึ่งของ สุวรรณี สุคนธา ตีพิมพ์ครั้งแรกในนิตยสาร ลลนา ฉบับปฐมฤกษ์ ได้รับการตีพิมพ์รวมเล่มครั้งที่ 1 เมื่อปี..

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและเก้าอี้ขาวในห้องแดง · ดูเพิ่มเติม »

เรือนแพ

รือนแพ คือ เรือนที่เคยตั้งอยู่บนแพในน้ำแล้วยกขึ้นมาปลูกบนบก อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและเรือนแพ · ดูเพิ่มเติม »

เลือดทหารไทย

ลือดทหารไทย เป็นภาพยนตร์พูด (ในฟิล์ม) ของไทยแนวชีวิตและสงคราม ชั้นพิเศษ "ซูเปอร์" เพื่อเผยแพร่กิจการของกองทัพไทย ระบบ 35 มม.ไวด์สกรีน ซาวออนฟิล์ม ขาวดำ..

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและเลือดทหารไทย · ดูเพิ่มเติม »

เทวดาเดินดิน (สตูดิโออัลบั้ม)

ทวดาเดินดิน เป็นอัลบั้มเดี่ยวชุดที่ 3 ของแจ้ ดนุพล แก้วกาญจน์ ที่ออกกับนิธิทัศน์ โปรโมชั่น โดยวางแผงเดือนเมษายน พ.ศ. 2531 มี วงพลอย เป็นวงแบคอัพ โดยเฉพาะ วสุ แสงสิงแก้ว ได้ร่วมงานกับแจ้ ดนุพล และวงพลอย เป็นชุดสุดท้ายก่อนไปศึกษาต่อระดับปริญญาโทด้านการต่างประเทศที่สหรัฐอเมริกาอัลบั้มชุดนี้ได้ทำการบันทึกเสียงที่ประเทศสิงคโปร์ มีเพลงเด่นที่มีการนำมาร้องใหม่โดยศิลปินคนอื่นๆ ในภายหลัง เช่น เทวดาเดินดิน, นิดหนึ่งพอ และ โอ๊ย..โอ๊ย ในอัลบั้ม เทวดาเดินดิน มีผลงานมิวสิกวิดีโอที่โดดเด่นหลายเพลง ได้แก.

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและเทวดาเดินดิน (สตูดิโออัลบั้ม) · ดูเพิ่มเติม »

เป็ดน้อย

ป็ดน้อย เป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2511 แนวรักชวนหัว เสียดสีสังคมชนชั้น ประกอบเพลง ระบบ 35 มม.อัศวินซูเปอร์ซีเนสโคป สีอัศวินอีสต์แมน เสียง(พากย์)ในฟิล์ม ของ อัศวินภาพยนตร์ เรื่องและบทภาพยนตร์โดย เวตาล กำกับโดย ภาณุพันธุ์ (ทั้งสองชื่อเป็นพระนามแฝงของ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล) ฉายที่ศาลาเฉลิมไท..

ใหม่!!: พูนสวัสดิ์ ธีมากรและเป็ดน้อย · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พูลสวัสดิ์ ธีมากร

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »