โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พิภพวานร (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2544)และสหรัฐ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พิภพวานร (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2544)และสหรัฐ

พิภพวานร (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2544) vs. สหรัฐ

วานร (Planet of the Apes) เป็นภาพยนตร์แนวนวนิยายวิทยาศาสตร์ และนำมาสร้างใหม่จากภาพยนตร์ในปี 1968 เรื่อง Planet of the Apes จากบทประพันธ์ของปีแยร์ บูล กำกับโดยทิม เบอร์ตัน แสดงนำโดยมาร์ก วาห์ลเบิร์ก, ทิม ร็อธ, เฮเลน่า บอนแฮม คาร์เตอร์, ไมเคิล คลาร์ก ดันแคน, พอล เจียมาตีและเอสเทลลา วอร์เรน ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับนักบินอวกาศ ลีโอ เดวิดสัน ที่นำเครื่องมาลงจอดบนดาวเคราะห์ดวงหนึ่งที่ปกครองโดยบรรดาวานรที่เฉลียวฉลาดและมีความคล้ายมนุษย์ ส่วนมนุษย์ได้ตกเป็นทาสรับใช้ของเหล่าวานร แต่จากความช่วยเหลือของวานรหญิงที่ชื่อ อารี ทำให้ลีโอคิดจะก่อกบฏ ในขั้นตอนพัฒนาของภาพยนตร์ทำใหม่เรื่องนี้ เริ่มต้นมาตั้งแต่ปี 1988 จากโครงการของอดัม ริฟคิน ที่มีการตั้งต้นแล้วในช่วงผลิตช่วงแรกแต่ก็ได้ถูกยกเลิกไป ในสคริปต์ที่เขียนโดยเทอร์รี เฮยส์ ใช้ชื่อเรื่องว่า Return of the Apes โดยวางทีมงานผู้สร้างคือ โอลิเวอร์ สโตน, ดอน เมอร์ฟี และเจน แฮมเชอร์ และวางฟิลิป นอยซ์ เป็นผู้กำกับ รวมถึงวางอาร์โนลด์ ชวาร์เซเนกเกอร์ เป็นนักแสดง แต่ด้วยความเห็นที่แตกต่างกันของเฮย์ และผู้ร่วมทุน/ผู้จัดจำหน่าย ทเวนตีเซนจูรีฟ็อกซ์ คริส โคลัมบัส, แซม แฮมม์, เจมส์ คาเมรอน, ปีเตอร์ แจ็กสัน และ พี่น้องฮิวจ์ มาร่วมโครงการนี้ในเวลาต่อมา ในบทภาพยนตร์ที่เขียนโดย วิลเลียม บรอยลส์, ทิม เบอร์ตัน ก็ถูกจ้างเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ และภาพยนตร์ก็เริ่มมีการพัฒนาอย่างจริงจัง ลอว์เรนซ์ คอนเนอร์และมาร์ก โรเซนธัล มาร่วมเขียนบทใหม่และเริ่มถ่ายทำในระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2001 ถึง เมษายน 2001 พิภพวานร ออกฉายด้วยเสียงวิจารณ์ไม่ดีแต่ประสบความสำเร็จทางด้านรายได้ คำวิจารณ์ส่วนใหญ่มุ่งเน้นไปที่ความทำให้สับสนในตอนจบของเรื่อง แต่ก็ยังมีการได้รับคำชมเรื่องการแต่งหน้า และถึงแม้ว่าจะประสบความสำเร็จด้านรายได้ แต่ฟ็อกซ์ก็ไม่คิดจะสร้างภาคต่อ. หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พิภพวานร (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2544)และสหรัฐ

พิภพวานร (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2544)และสหรัฐ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): เจมส์ แคเมรอน

เจมส์ แคเมรอน

แคเมรอน กับภรรยาคนที่ 2 แคเมรอนในปี ค.ศ. 2007 เจมส์ แฟรนซิส แคเมรอน (James Francis Cameron) เกิดวันที่ 16 สิงหาคม ค.ศ. 1954 เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวแคนาดา โปรดิวเซอร์ นักเขียนบทและผู้คิดค้นด้านภาพยนตร์ ผลงานเขียนและกำกับของเขาเช่น ฅนเหล็ก 2029 และ ไททานิก ที่ขึ้นแท่นภาพยนตร์ทำรายได้สูงสุดอันดับหนึ่งตลอดกาลในปี.ศ 1997 จนถึงปัจจุบันนี้ผลงานการกำกับของเขามียอดรวมราว 1.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ปรับรายได้ตามอัตราเงินเฟ้อ หลังจากมีผลงานภาพยนตร์หลายเรื่อง แคเมรอนเน้นการทำงานด้านการผลิตสารคดีและระบบกล้องฟิวชันดิจิตอล 3 มิติ เขากลับมาทำผลงานภาพยนตร์อีกครั้งในรอบ 12 ปี ในผลงานเรื่อง อวตาร ที่ใช้เทคโนโลยีระบบกล้องฟิวชัน ภาพยนตร์ฉายวันที่ 16 ธันวาคม..

พิภพวานร (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2544)และเจมส์ แคเมรอน · สหรัฐและเจมส์ แคเมรอน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พิภพวานร (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2544)และสหรัฐ

พิภพวานร (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2544) มี 21 ความสัมพันธ์ขณะที่ สหรัฐ มี 556 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 0.17% = 1 / (21 + 556)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พิภพวานร (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2544)และสหรัฐ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »