พินอินและฮวงจุ้ย (ศาสตร์)
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง พินอินและฮวงจุ้ย (ศาสตร์)
พินอิน vs. ฮวงจุ้ย (ศาสตร์)
นอิน หรือ ฮั่นยฺหวี่พินอิน (แปลว่า สะกดเสียงภาษาจีน) คือระบบในการถอดเสียงภาษาจีนมาตรฐาน ด้วยตัวอักษรละติน ความหมายของพินอินคือ "การรวมเสียงเข้าด้วยกัน" (โดยนัยก็คือ การเขียนแบบสัทศาสตร์ การสะกด การถอดเสียง หรือการทับศัพท์) พินอินเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2501 และเริ่มใช้กันในปี พ.ศ. 2522 โดย รัฐบาลของสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยใช้แทนที่ระบบการถอดเสียงแบบเก่า เช่น ระบบเวดและไจลส์ และระบบจู้อิน นอกจากนี้ ยังมีการออกแบบระบบอื่น ๆ สำหรับนำไปใช้กับภาษาพูดของจีนในถิ่นต่าง ๆ และภาษาของชนกลุ่มน้อยที่ไม่ใช้ภาษาฮั่น ในสาธารณรัฐประชาชนจีนด้วย นับแต่นั้นมา พินอินก็เป็นที่ยอมรับจากสถาบันนานาชาติหลายแห่ง รวมทั้งรัฐบาลสิงคโปร์ หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน และสมาคมหอสมุดอเมริกัน โดยถือว่าเป็นระบบการถอดเสียงที่เหมาะสมสำหรับภาษาจีนกลาง ครั้นปี พ.ศ. 2522 องค์การมาตรฐานนานาชาติ (ISO) ก็ได้รับเอาพินอินเป็นระบบมาตรฐาน (ISO 7098) ในการถ่ายทอดเสียงภาษาจีนปัจจุบันด้วยอักษรโรมัน (the standard romanization for modern Chinese) สิ่งสำคัญที่ต้องระลึกไว้ก็คือ พินอินนั้น เป็นการทับศัพท์ด้วยอักษรโรมัน (Romanization) มิใช่การถอดเสียงแบบภาษาอังกฤษ (Anglicization) นั่นคือ การกำหนดให้ใช้ตัวอักษรตัวหนึ่ง สำหรับแทนเสียงหนึ่ง ๆ ในภาษาจีนไว้อย่างตายตัว เช่น b และ d ในระบบพินอิน เป็นเสียง "ป" และ "ต" ตามลำดับ ซึ่งแตกต่างจากระบบการออกเสียงส่วนใหญ่ ไม่ว่าอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือภาษาอื่นในยุโรป ขณะที่อักษร j หรือ q นั้นมีเสียงไม่ตรงกับในภาษาอังกฤษเลย กล่าวสั้น ๆ ก็คือ พินอินมุ่งที่จะใช้อักษรโรมัน เพื่อแทนเสียงใดเสียงหนึ่งโดยเฉพาะ เพื่อความสะดวกในการเขียน มิได้ยืมเสียงจากระบบของอักษรโรมันมาใช้ การใช้ระบบนี้นอกจากทำให้ชาวต่างชาติเขียนอ่านภาษาจีนได้สะดวกแล้ว ยังสามารถใช้กับคอมพิวเตอร์ได้สะดวกอย่างยิ่งด้วย ต่อไปนี้เป็นการถอดเสียงภาษาจีน (ที่เขียนด้วยอักษรโรมันในระบบพินอิน) ด้วยอักษรไทย โปรดสังเกตว่า บางหน่วยเสียงในภาษาจีนไม่มีหน่วยเสียงที่ตรงกันในภาษาไทย จึงต้องอนุโลมใช้อักษรที่ใกล้เคียง ในที่นี้จึงมีอักษรไทยบางตัว ที่ต้องใช้แทนหน่วยเสียงในภาษาจีนมากกว่าหนึ่งหน่วยเสียง ทั้งนี้เพื่อเป็น "เกณฑ์อย่างคร่าว ๆ" สำหรับการเขียนคำทับศัพท์ภาษาจีน. ฮวงจุ้ย (อังกฤษ: Feng Shui ตัวย่อ: 风水 ตัวเต็ม: 風水 พินอิน: fēngshuǐ เฟิงสุ่ย IPA: /fɤŋ ʂueɪ/) หมายถึง สภาวะแวดล้อม หรือการอยู่อาศัยให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ในคติของชาวจีน มีลักษณะใกล้เคียงสถาปัตยกรรมศาสตร์ คำว่า ฮวงจุ้ย มาจากคำว่า ลม(ฮวง)และ น้ำ(จุ้ย) ออกเสียงตามสำเนียง จีนแต้จิ๋ว ฮวงจุ้ย นี้อาศัยหลักการของการไหลเวียนของพลังงานบนผืนโลก (ชี่)โดยเปรียบให้เข้าใจได้ง่ายโดยการเปรียบเทียบกับธรรมชาติของไหลที่เรารู้จักกันดี ได้แก่ธรรมชาติของลมและธรรมชาติของน้ำ ซึ่งนักพยากรณ์ฮวงจุ้ยที่ดีต้องอ่านพลังงานของชี่ และ แหล่งที่มาของชี่ให้ออก เพื่อเสริมการนำเข้า / ทำลายการปิดกั้น ให้ชี่ที่ดีสามารถเข้าได้ และ ถ่ายเทชี่ที่เสีย / ปิดกั้นไม่ให้ชี่ที่เสียสามารถเข้าสู่สถานที่ที่เราอยู่ได้ ศาสตร์นี้มาจากประเทศจีน ดังนั้นผู้ที่ศึกษาและอาจารย์มักจะมีเครื่องรางที่มาจากจีนมาใช้ในการแก้ ความเป็นจริงแล้ว การสร้างสภาพแวดล้อมตามหลักฮวงจุ้ยนั้น ไม่เหมือนกันเลยในแต่ละเขตของโลก สภาพภูมิอากาศคนละอย่าง ในเรื่องของพิธีกรรมจีนจึงมีบทบาทกับฮวงจุ้ย กับทุกประเทศซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องพิจารณากัน ในเมืองไทย บ้านเรือนไทยสมัยก่อนจัดว่าถูกหลักของการจัดฮวงจุ้ยที่ถูกต้องในสภาพอากาศนี้ สำหรับในปัจจุบันบ้านเรือนไทยอาจจะไม่เหมาะ เนื่องจากราคาสูง ดังนั้นสถาปนิกที่มีต้องปรับเปลี่ยนสถาปัตยกรรม การจัดตามหลักฮวงจุ้ยนั้นมีการจัดเพื่อการณ์หลายอย่างตามการใช้งานที่เจ้าของอย่างให้เป็น ดังนั้นพื้นที่(space)กับอารมณ์(mood)มีส่วนสำคัญกับงานฮวงจุ้ย อารมณ์ของคน มีส่วนกับดวงชะตา วันเดือนปีเกิด และดวงดาวรวมถึง หลักเชิง จิตวิทยา หมวดหมู่:สถาปัตยกรรม หมวดหมู่:วัฒนธรรมจีน หมวดหมู่:คำจีนแต้จิ๋ว หมวดหมู่:การทำนายดวงชะตา.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พินอินและฮวงจุ้ย (ศาสตร์)
พินอินและฮวงจุ้ย (ศาสตร์) มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ พินอินและฮวงจุ้ย (ศาสตร์) มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง พินอินและฮวงจุ้ย (ศาสตร์)
การเปรียบเทียบระหว่าง พินอินและฮวงจุ้ย (ศาสตร์)
พินอิน มี 13 ความสัมพันธ์ขณะที่ ฮวงจุ้ย (ศาสตร์) มี 8 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (13 + 8)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พินอินและฮวงจุ้ย (ศาสตร์) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: