ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พิธีสวนสนามวันชาติสาธารณรัฐจีนและวันชาติสาธารณรัฐจีน
พิธีสวนสนามวันชาติสาธารณรัฐจีนและวันชาติสาธารณรัฐจีน มี 7 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กองทัพสาธารณรัฐจีนรายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีนหม่า อิงจิ่วประเทศไต้หวันเพลงชาติสาธารณรัฐจีนเจียง ไคเชกเฉิน เฉิง
กองทัพสาธารณรัฐจีน
กองทัพสาธารณรัฐจีน ประกอบด้วยกองทัพบก กองทัพอากาศ กองทัพเรือ (รวมเหล่านาวิกโยธิน) และ กำลังทหารสารวัตรแห่งสาธารณรัฐจีน เป็นสถาบันทหาร มีงบประมาณคิดเป็น 16.8% ของงบประมาณกลางในปีงบประมาณ 2546 เดิมเป็นกองทัพปฏิวัติแห่งชาติก่อนเปลี่ยนชื่อเป็นกองทัพสาธารณรัฐจีนในปี 2490 เนื่องจากการบังคับใช้รัฐธรรมนูญ ก่อนคริสต์ทศวรรษ 1970 ภารกิจหลักของกองทัพ คือ การยึดจีนแผ่นดินใหญ่คืนจากสาธารณรัฐประชาชนจีนที่เป็นคอมมิวนิสต์ผ่านโครงการความรุ่งโรจน์ของชาติ (Project National Glory) แต่ภารกิจสำคัญที่สุดของกองทัพปัจจุบัน คือ การป้องกันเกาะไต้หวัน เผิงหู จินเหมินและหมาจู่จากการบุกครองทางทหารที่เป็นไปได้ของกองทัพปลดปล่อยประชาชน ซึ่งถูกมองว่าเป็นภัยคุกคามที่เด่นสุดของสาธารณรัฐจีน ขณะที่ข้อพิพาทว่าด้วยสถานะทางการเมืองของไต้หวันยังดำเนินต่อไป.
กองทัพสาธารณรัฐจีนและพิธีสวนสนามวันชาติสาธารณรัฐจีน · กองทัพสาธารณรัฐจีนและวันชาติสาธารณรัฐจีน ·
รายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน
งสาธารณรัฐจีน ทำเนียบที่ทำการประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีนที่กรุงไทเป ไต้หวัน รายนามต่อไปนี้เป็นรายนาม ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีน ตั้งแต่ (ค.ศ. 1912 ถึง ปัจจุบัน) ในสาธารณรัฐจีนตำแหน่งประธานาธิบดีจะเรียกว่า (ซ่งถ่ง) และตั้งแต..
พิธีสวนสนามวันชาติสาธารณรัฐจีนและรายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน · รายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีนและวันชาติสาธารณรัฐจีน ·
หม่า อิงจิ่ว
หม่า อิงจิ่ว (เกิด 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2493) เป็นนักการเมืองชาวไต้หวัน และเป็นอดีตประธานาธิบดีของสาธารณรัฐจีน ตั้งแต่ปี 2551 ถึง 2559 ซึ่งเป็นคนแรกที่เกิดหลังจากที่สาธารณรัฐจีนย้ายมายังเกาะไต้หวัน หม่าอิงจิ่ว ครอบครัวพ่อ แม่ หม่านั้นมาจาก เมือง เหิงซาน มณฑล หูหนานประเทศจีนเมื่อ พรรคก๊กมินตั๋งแพ้สงครามกลางเมืองครอบครัวหม่าก็อพยพจากจีนแผ่นดินใหญ่มาที่ฮ่องกง หม่าอิงจิ่วจึงเกิดที่ฮ่องกง จึงอยุ่ที่ฮ่องกง 1ปีจึงย้ายไปเกาะไต้หวัน ก่อนหน้านี้เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (พ.ศ. 2536 - พ.ศ. 2539 และนายกเทศมนตรีเมืองไทเป (พ.ศ. 2541 - พ.ศ. 2549) นอกจากนี้เขายังเป็นประธานพรรคก๊กมินตั๋ง (KMT) ใน พ.ศ. 2548 - พ.ศ. 2550 และ พ.ศ. 2552 - พ.ศ. 2557 หม่าได้รับการเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดี โดยได้รับ 58.45% ของคะแนนเสียงทั้งหมดในการเลือกตั้งประธานาธิบดีพ.ศ. 2551 และอีกครั้งในการเลือกตั้งพ.ศ. 2555 ได้ 51.6% ของคะแนนเสียงทั้งหมด เขาสาบานตนเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 และสาบานตนในฐานะประธานพรรคก๊กมินตั๋งเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2552 เขาลาออกจากตำแหน่งประธานพรรคก๊กมินตั๋ง 3 ธันวาคม พ.ศ. 2557.
พิธีสวนสนามวันชาติสาธารณรัฐจีนและหม่า อิงจิ่ว · วันชาติสาธารณรัฐจีนและหม่า อิงจิ่ว ·
ประเทศไต้หวัน
ประเทศไต้หวัน (Taiwan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในทวีปเอเชียตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน (金門), ไต้หวัน, เผิงหู (澎湖), หมาจู่ (馬祖), และอูชิว (烏坵) กับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" (臺灣地區) ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง ส่วนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคชาตินิยม (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยม (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็นอันดับที่ 19 ของโลก อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูงด้วยhttp://www.dgbas.gov.tw/public/Data/366166371.pdf.
ประเทศไต้หวันและพิธีสวนสนามวันชาติสาธารณรัฐจีน · ประเทศไต้หวันและวันชาติสาธารณรัฐจีน ·
เพลงชาติสาธารณรัฐจีน
ลงชาติสาธารณรัฐจีน (จงหัวหมินกั๋วกั๋วเกอ) เป็นเพลงชาติของสาธารณรัฐจีนซึ่งตั้งมั่นอยู่บนเกาะไต้หวันในปัจจุบัน เนื้อหากล่าวถึงวิสัยทัศน์และความหวังของรัฐชาติใหม่และประชาชนในรัฐนั้นจะเป็นจริงได้ด้วยการดำเนินตามหลักลัทธิไตรราษฎร์ หรือ หลัก 3 ประการ แห่งประชาชน เพลงนี้มักมีการเรียกชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า "ซานหมินจู่อี้" อันเป็นชื่อของหลักลัทธิไตรราษฎร์ที่ปรากฏในวรรคแรกของเพลง แต่ชื่อดังกล่าวนี้ไม่ได้มีการเรียกขานอย่างเป็นทางการแต่อย่างใ.
พิธีสวนสนามวันชาติสาธารณรัฐจีนและเพลงชาติสาธารณรัฐจีน · วันชาติสาธารณรัฐจีนและเพลงชาติสาธารณรัฐจีน ·
เจียง ไคเชก
ียง ไคเชก (Chiang Kai-shek; 31 ตุลาคม ค.ศ. 1887 — 5 เมษายน ค.ศ. 1975) หรือชื่อตามภาษาจีนมาตรฐาน คือ เจี่ยง จงเจิ้ง (蔣中正) หรือ เจี่ยง เจี้ยฉือ (蔣介石) เป็นผู้นำจีน เจียงจบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยของญี่ปุ่นและกลับมาเป็นขุนศึกค้ำบัลลังก์ของซุน ยัตเซน ได้เป็นผู้นำของจีนระหว่าง..
พิธีสวนสนามวันชาติสาธารณรัฐจีนและเจียง ไคเชก · วันชาติสาธารณรัฐจีนและเจียง ไคเชก ·
เฉิน เฉิง
เฉิน เฉิง (4 มกราคม พ.ศ. 2440 - 5 มีนาคม พ.ศ. 2508) ผู้นำทางการเมืองและการทหาร, และเป็นหนึ่งในหลัก กองทัพปฏิวัติแห่งชาติเป็นผู้บัญชาการในระหว่าง สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง และ สงครามกลางเมืองจีน หลังจากที่ย้ายไปไต้หวันที่ส่วนท้ายของสงครามกลางเมืองที่เขาทำหน้าที่เป็น ผู้ว่าราชการจังหวัดไต้หวัน, รองประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน ฉ หมวดหมู่:ทหารชาวจีนในสงครามโลกครั้งที่สอง.
พิธีสวนสนามวันชาติสาธารณรัฐจีนและเฉิน เฉิง · วันชาติสาธารณรัฐจีนและเฉิน เฉิง ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ พิธีสวนสนามวันชาติสาธารณรัฐจีนและวันชาติสาธารณรัฐจีน มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง พิธีสวนสนามวันชาติสาธารณรัฐจีนและวันชาติสาธารณรัฐจีน
การเปรียบเทียบระหว่าง พิธีสวนสนามวันชาติสาธารณรัฐจีนและวันชาติสาธารณรัฐจีน
พิธีสวนสนามวันชาติสาธารณรัฐจีน มี 14 ความสัมพันธ์ขณะที่ วันชาติสาธารณรัฐจีน มี 28 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 7, ดัชนี Jaccard คือ 16.67% = 7 / (14 + 28)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พิธีสวนสนามวันชาติสาธารณรัฐจีนและวันชาติสาธารณรัฐจีน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: