เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พัลซาร์และเฟรด ฮอยล์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พัลซาร์และเฟรด ฮอยล์

พัลซาร์ vs. เฟรด ฮอยล์

แผนภาพของพัลซาร์ ทรงกลมตรงกลางหมายถึงดาวนิวตรอน เส้นโค้งรอบๆ คือเส้นสนามแม่เหล็ก ส่วนรูปกรวยที่พุ่งออกมาคือลำการแผ่รังสี พัลซาร์ (Pulsar; มาจากการรวมกันของ 2 คำ คือ pulsating และ star) คือดาวนิวตรอนที่หมุนรอบตัวเองด้วยความเร็วสูงมาก และแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมาเป็นจังหวะ คาบการหมุนที่สังเกตได้อยู่ระหว่าง 1.4 มิลลิวินาที ถึง 8.5 วินาที เราสามารถสังเกตเห็นการแผ่รังสีได้จากลำรังสีที่ชี้มาทางโลกเท่านั้น ลักษณะปรากฏการณ์เช่นนี้เรียกว่า ปรากฏการณ์ประภาคาร (lighthouse effect) และการที่สังเกตเห็นรังสีเป็นช่วงๆ (pulse) นี้เองเป็นที่มาของชื่อพัลซาร์ พัลซาร์บางแห่งมีดาวเคราะห์โคจรอยู่รอบๆ เช่น ดาว PSR B1257+12 เวอร์เนอร์ เบ็คเกอร์ แห่งสถาบันมักซ์ พลังค์เพื่อการศึกษาฟิสิกส์นอกโลก (Max Planck Institute for Extraterrestrial Physics) ได้กล่าวเอาไว้ในปี 2549 ว่า "ทฤษฎีว่าด้วยเหตุที่พัลซาร์แผ่รังสีออกมายังคงเป็นสิ่งลึกลับ แม้จะมีการเฝ้าศึกษามาเป็นเวลากว่า 40 ปีแล้ว". ซอร์ เฟรด ฮอยล์ (Sir Fred Hoyle; สมาชิกราชสมาคม FRS; 24 มิถุนายน ค.ศ. 1915 - 20 สิงหาคม ค.ศ. 2001) เป็นนักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษ เป็นที่รู้จักในฐานะผู้สนับสนุนทฤษฎีนิวคลีโอซินทีสิสของดาวฤกษ์ และมักร่วมในการถกเถียงต่างๆ เกี่ยวกับจักรวาลวิทยาและประเด็นทางวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการโต้แย้งเกี่ยวกับทฤษฎี"บิกแบง" ซึ่งเป็นวลีที่เขาตั้งขึ้นเป็นการล้อเลียน นอกจากในฐานะนักดาราศาสตร์แล้ว ฮอยล์ยังเป็นนักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ด้วย และร่วมเขียนหนังสือหลายเล่มกับบุตรชาย คือ เจฟฟรีย์ ฮอยล์ เขาอุทิศเวลาส่วนใหญ่ในชีวิตทำงานให้กับสถาบันดาราศาสตร์แห่งเคมบริดจ์ และได้ทำหน้าที่เป็นผู้อำนวยการสถาบันแห่งนี้เป็นเวลาหลายปี ฮอยล์เสียชีวิตที่เมืองบอร์นมัธ ประเทศอังกฤษ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พัลซาร์และเฟรด ฮอยล์

พัลซาร์และเฟรด ฮอยล์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พัลซาร์และเฟรด ฮอยล์

พัลซาร์ มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ เฟรด ฮอยล์ มี 10 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (6 + 10)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พัลซาร์และเฟรด ฮอยล์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: